ความสมดุลเชิงอำนาจกับการถ่ายโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินในหมู่บ้านซานโปเทียน เขตเยาอัน มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทําความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงอํานาจ และการเจรจาต่อรอง และความสมดุลของความสัมพันธ์เชิงอํานาจในกระบวนการถ่ายโอนสิทธิการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาในหมู่บ้านซานโปเทียน
ในเขตเหยาอันมณฑลยูนนาน และ (2) นําเสนอรูปแบบที่เหมาะสมสําหรับความสมดุลของความสัมพันธ์เชิงอํานาจในการถ่ายโอนสิทธิการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรเพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน การศึกษานี้เป็นวิธีการเชิงคุณภาพ โดยใช้การสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกร 45 คน ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการถ่ายโอนสิทธิการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้นไม่ได้เป็นกระบวนการที่เป็นกลางหรือไม่สันติิ กลุ่มที่มีอํานาจจะพยายามใช้อํานาจทางสังคมเศรษฐกิจอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการของพวกเขาเพื่อมีอิทธิพลต่อกระบวนการถ่ายโอนเพื่อให้ได้รับประโยชน์มากขึ้นจากการเจรจา โดยกลุ่มคนจนมักจะเป็นผู้แพ้และได้รับผลประโยชน์สาธารณะน้อยกว่าเสมอ สําหรับการสร้างสมดุลความสัมพันธ์เชิงอํานาจ รัฐบาลต้องเป็นตัวแทนผลประโยชน์ของเกษตรกรผู้ยากจนและสาธารณชน ซึ่งเป็นสิ่งจําเป็นในการควบคุมพลังการตลาด นอกจากนี้ควรมีการจัดตั้งระบบการเฝ้าระวังของบุคคลที่สาม ทั้งในกระบวนการและหลังกระบวนการโอนสิทธิการใช้ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเพื่อให้แน่ใจว่าการใช้ที่ดินอย่างเหมาะสมนั้นเป็นไปในทางปฏิบัติ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับทุกเรื่องที่พิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Peview) เฉพาะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การตีพิมพ์บทความซ้ำต้องได้รับการอนุญาตจากกองบรรณาธิการเป็นลายลักษณ์อักษร
References
Chinese Agricultural Law. (2000). Chinese Science Press: 2000, Beijing, China.
Dahl, A. R. (1961). Who Governs. Yale University: New Haven, CT, USA.
Foucault, M. (1975). Discipline and Punish. University of Tunis: Tunis, Tunisia.
Gaventa, J. (1980). Power and Powerlessness: Quiescence and Rebellion in
an Appalachian Valley. Oxford: Oxford University Press, 22.
Giddens, A.(1973). The Class Structure of the Advanced Societies. Hutchin
son: London, UK.
Hanjun. (1995). The Rural Reform in China. Chinese Rural Economy. Volume
,Beijing, China.
Mou,Y. (2006). The Negative Impact of Agricultural Land Right Transfer. The
Chinese Rural Reform: 2006. Beijing, China, Volume7.
Shanpotian Village Statistics. (2017). Shanpotian Village Committee
Publication: 2017.
Weber, M. Parsons T., Henderson A. M. (1947). The Theory of Social and
Economic Organization. Oxford: Oxford University Press.
Interviews
Li (Interviewee). Fu Xiran (Interviewer). at Shanpotian Village, Yaoan
County, Yunnan Province, China. On 22nd June 2017.
Lui (Interviewee) Fu Xiran (Interviewer). at Shanpotian Village, Yaoan
County, Yunnan Province, China. On 21st June 2017.
Liu, Jiang, Li, Fu, Shang, and Yang (Interviewees) Zhao Yaqiao
(Interviewer). at Shanpotian Village, Yaoan County,
Yunnan Province, China. On 27th–29th June 2017).
Wang (Town Government Officer) (Interviewee) Zhao Yaqiao
(Interviewer). at Shanpotian Village, Yaoan County, Yunnan Province,
China. On 10th June 2017.
Zhang (Town Government Officer) (Interviewee) Zhao Yaqiao
(Interviewer). at Shanpotian Village, Yaoan County, Yunnan Province,
China. On 10th June 2017.
Zhou (Interviewee) Zhao Yaqiao (Interviewer). at Shanpotian Village,
Yaoan County, Yunnan Province, China. On 10th June 2017.