ดร. ความหมายและภาพลักษณ์ “กินนอหรา” ในมุมมองของคนใต้
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาความหมายและภาพลักษณ์ของกินนอหรา ในมุมมองของคนใต้ จากข้อมูลเอกสาร และการสัมภาษณ์คนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา สามารถวิเคราะห์ความหมายของกินนอหรา ได้ 2 ประการ คือ กินนอหราเป็นพงศ์พันธุ์หนึ่งที่สะท้อนความลึกเร้นและยิ่งใหญ่ของป่าหิมพานต์และ เขาวงกต และ กินนอหราเป็นภาพสะท้อนความเชื่อของคนใต้ สำหรับภาพลักษณ์ของ กินนอหรา ปรากฏใน 3 ลักษณะ คือ ผู้หญิงที่มีรูปร่างหน้าตางดงาม ผู้หญิงที่มีปัญญา และผู้หญิงที่มีความดีงาม คนใต้ไม่เพียงเชื่อมโยงตำนานป่าหิมพานต์อันลึกเร้นและยิ่งใหญ่กับตำนาน“กินนอหรา” หากยังสะท้อนมุมมองความเชื่อและพิธีกรรมเรื่องเวรกรรมอย่างลึกซึ้ง ในขณะเดียวกัน ผู้หญิงในสายตาของคนใต้ ประกอบด้วย มิติความงาม มิติความเก่ง และมิติความดี
Article Details
ต้นฉบับทุกเรื่องที่พิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Peview) เฉพาะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การตีพิมพ์บทความซ้ำต้องได้รับการอนุญาตจากกองบรรณาธิการเป็นลายลักษณ์อักษร
References
__________ ปริวรรต. (2548). “โองการพญากรูด”, ใน วรรณกรรมทักษิณ
วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 277-278, 288)
กลิ่น คงเหมือนเพชร และ ชวน เพชรแก้ว ปริวรรต. (2548). “พระนิพพานสูตร คำกาพย์ ฉบับอำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช”, ในวรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เล่ม ที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 107)
เกษม ขนาบแก้ว. (2559). การอนุรักษ์สืบสานบทหนังตะลุงคัดสรร เล่มที่ 8. สงขลา :
โครงการรวบรวมศึกษาและเผยแพร่ภูมิปัญญาชาวบ้านภาคใต้.
เกรียงไกร กองเส็ง. (2559). “ร่างกายใต้บงการ” การเปลี่ยนแปลงความหมาย “ความงาม
ของสตรีไทย – จีนตามวิถีสมัยใหม่”, วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. 5 (2), 235 –249.
ชัยวุฒิ พิยะกูล. (2552). การปริวรรตวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ประเภทหนังสือบุด เรื่อง
ตำราใบปอ: ศาสตราฉบับบ้านดังหวัน อำเภอบาลิง รัฐเกดะห์ ประเทศ
มาเลเซีย. สงขลา: สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ชัยวุฒิ พิยะกูล และ พิทยา บุษรารัตน์ ปริวรรต. (2552). “พระสุธน – นางมโนห์รา ฉบับ
วัดโพธิ์ปฐมาวาส อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา”, ในวรรณกรรมทักษิณ
วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 64-65, 75, 77)
ทศพล ศรีพุ่ม. (2557).“การซ้อนนิทานกับการนำเสนอคำสอนในวรรณคดีชาดกของไทย”,
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 21(1), 59 – 89.
ปรานี วงษ์เทศ. (2531). “นิทานชาดกกับโลกทัศน์ของลาวพวน”, ใน พื้นถิ่นพื้นฐาน: มิติ
ใหม่ของคติชนวิทยาและวิถีชีวิตสามัญ ของ “พื้นบ้านพื้นเมือง”. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม.
__________. (2544). เพศและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.
__________ (2549). เพศสภาวะในสุวรรณภูมิ (อุษาคเนย์). กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการ
พิมพ์.
ปริญญา ปานชาวนา. (2557). วรรณกรรมท้องถิ่นตามแนวลำน้ำตาปี. วารสาร
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 6 (1) : 101-129.
พิทยา บุษรารัตน์. (2542). การปริวรรตวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ประเภทหนังสือบุด
เรื่องพระรถนิราศ ฉบับอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา. สงขลา :
มหาวิทยาลัยทักษิณ.
__________. (2553). นาฏกรรมแห่งลุ่มทะเลสาบสงขลา การเปลี่ยนแปลงและ
ความสัมพันธ์กับสังคมและวัฒนธรรมของหนังตะลุงและโนรา. กรุงเทพฯ : สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย.
__________ปริวรรต. (2548). “สุวรรณหงส์ คำกาพย์ ฉบับหลวงพุทธราชศักดา
จังหวัดพัทลุง”,ในวรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 35)
พิทยา บุษรารัตน์ และ ประพนธ์ เรืองณรงค์ ปริวรรต. (2548). สุภาษิตสอนหญิง คำกาพย์
ฉบับนายเทพ บุณยประสาท ใน วรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 12กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 241)
พญาลิไท. (2525). ไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วง. กรุงเทพฯ: สำนักงานสลากกินแบ่ง
รัฐบาล. หน้า 138.
พรชีวินทร์ มลิพันธุ์. (2549). กินรี: สุนทรียภาพในงานศิลปะและวรรณกรรม. กรุงเทพฯ:
ศยาม.หน้า 35-36.
เพชรินทร์ นาทศรีทา. (2554). ภาพลักษณ์หญิงไทยในวรรณกรรมของนักเขียนหญิงที่
ได้รับรางวัลซีไรต์. การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2554.
ภิญโญ จิตต์ธรรม. (2509). เพลงพื้นเมืองภาคใต้ “เพลงร้องเรือหรือเพลงกล่อมเด็ก”.
กรุงเทพฯ: โรงเรียนสตรีฝึกหัดครูสงขลาจัดพิมพ์โดยความร่วมมือของมูลนิธิเอเชีย แห่งประเทศไทย.
วรารัชต์ มหามนตรี. (2014). “ภาษิต สำนวน : ภาพสะท้อนโลกทัศน์ของคนไทยต่อ
ผู้หญิง”, วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน. 5(2); กรกฎาคม - ธันวาคม: 9 – 58.
วิไลลักษณ์ เล็กศิริลักษณ์ ปริวรรต.. (2548). “พระสุธน-มโนราห์ ฉบับศูนย์วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต”, ในวรรณกรรมทักษิณ วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สุราษฎร์ธานี. (หน้า 260)
__________ ปริวรรต. (2548). “ศาสตราฉบับตำบลเขารูปช้าง”, ใน วรรณกรรมทักษิณ
วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า245, 251-252)
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2531). “บทความนำ : อันเนื่องด้วยวัฒนธรรมท้องถิ่น”,ใน พื้นถิ่น
พื้นฐาน: มิติใหม่ของคติชนวิทยาและวิถีชีวิตสามัญ ของ“พื้นบ้านพื้นเมือง”. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม.
สาคร บุญเลิศ ปริวรรต. (2548). “พิมพาแจ้งชาติ คำกาพย์”, ในวรรณกรรมทักษิณ
วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.
สุภาวดี เพชรเกตุ. (2560). “มิติความเป็นหญิงกับกลไกของสังคมในกฤษณาสอนน้องคำ
กลอนฉบับชาวบ้านเมืองเพชรบุรี”, วารสารหาดใหญ่วิชาการ.15(1); มกราคม – มิถุนายน: 91 – 107.
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. (2512). คติชาวบ้านปักษ์ใต้. กรุงเทพฯ : ก้าวหน้า.
__________. (2549). “สิ่งสำแดงถึงความเป็นท้องถิ่นของวรรณกรรม : กรณี
วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้”, วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ทักษิณ. 1 (1) ; เมษายน – กันยายน : 1 – 25.
__________. (2544). โครงสร้างและพลวัตวัฒนธรรมภาคใต้กับการพัฒนา.
กรุงเทพฯ:สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
__________ปริวรรต. (2548). “พระรถเมรี คำกาพย์”, ในวรรณกรรมทักษิณ
วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 143, 339)
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และ พ่วง สุวรรณรัตน์. (2542). “หนังตะลุงคน”, ใน สารานุกรม
วัฒนธรรมภาคใต้ เล่ม 17. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
สำนักงานราชบัณฑิตสภา. (2552). กรรม (6 กันยายน 2552). [ออนไลน]. เข้าถึงไดจาก
http://www.royin.go.th/ [2561, มกราคม 29].
เอนก นาวิกมูล บรรณาธิการ. (2559). พิพิธภัณฑ์ระโนด. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี จำกัด.
อุดม หนูทอง. (2524). วรรณกรรมสดุดีและแหล่ทำขวัญของภาคใต้. สงขลา : โรงพิมพ์
สงขลาพาณิชย์.
__________. (2536). โนรา. สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคใต้.
อุบลศรี อรรถพันธุ์. (2554). การปริวรรตวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ประเภทหนังสือบุด
เรื่องบิงยมาศทอง. สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา. (หน้า 136)
__________ปริวรรต. (2548). “วรพินธ์ คำกาพย์”, ในวรรณกรรมทักษิณ
วรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. (หน้า 389)
อุบลศรี อรรถพันธุ์ และ เกษม ขนาบแก้ว ปริวรรต. (2548). “ป้องครก คำกาพย์”, ใน
วรรณกรรม ทักษิณวรรณกรรมคัดสรร เล่มที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.
อัควิทย์ เรืองรอง. (2558). โดยสำคัญ “ปัญญา” ของนารี: ภาพลักษณ์สตรีในวรรณคดีไทย
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับปัจจัยเกื้อกูลด้านการศึกษา”, วารสารสถาบัน วัฒนธรรมและศิลปะ.7(1); กรกฎาคม – ธันวาคม: 9 – 18.
Ali Shehzad Zaidi. (2008). “Legitimizing Myth and the Search for Meaning”,
Theory in Action. 1(4); October : 114-122.
Gary, Martin. (2007). “Beauty is in the eye of beholder” the phrase finder.
Graham, Jesse and Haidt, Jonathan. (2010). Beyond Beliefs: Religions Bind
Individuals Into Moral Communities. Personality and Social Psychology Review. 14(1) 140–150.
Headley, Robert. (1997). Modern Cambodian – English Dictionary.
Dunwoody Press. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก https://en.wikipedia. org/wiki/Kinnara [2560, ตุลาคม 17].
Michael R. Spicler. (1995). Medieval Theories of Aesthetics. Internet
Encyclopedia of Philosophy (IEP) p. 1-14.
Murthy, Krishna. (1985).Mythical Animals in Indian Art. Abhinav
Publications. P.14-17
Pappas, Nickolas. (2008). “Plato’s Aesthetics”, The Stanford Encyclopedia of
Philosophy, Edward N. Zalta (e d.).
Ramos, Maximo D. (1971). Creatures of Philippine Lower Mythology.
Manila: University of the Philippines Press. 390 pp.
Russell, Bertrand. (1919). “The Study of Mathematics”, Mysticism and Logic:
An Other Essays. Longman. p.60
Seife, Charles (2000). Zero: The Biography of a Dangerous Idea. Penguin. ISBN
0-14 - 029647-6. p. 32
Strachan, Paul. (1989). Imperial Pagan: Art and Architecture of Old
Burma. University of Hawaii Press.
Sunita, Khatnani. (2009). "The Indian in the Filipino". Philippine Daily
Inquirer. Archived from the original on 21 June 2015. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://globalnation.inquirer.net/cebudailynews/opinion/view
/20091011-229561/The-Indian-in-the-Filipino. [2560, ตุลาคม 17].
Taylor, P.A. (2014). Meaning, Expression, and the Interpretation of
Literature. The Journal of Aesthetics and Art Criticism, 72. P.379 – 391.
William Keith Chambers Guthrie, (1978), A history of Greek philosophy,
Volume 1: The earlier Presocratics and the Pythagoreans, CambridgeUniversity Press. p. 173.
Yu, Douglas W; Shepard, Glenn H, Jr. Nature; London396.6709 (Nov 26,
1998): 321-2.
H. Paul Grice (1989), Studies in the Way of Words. Harvard University Press.
(p.213-223)
บุคลานุกรม
พลอย ทุ่มแก้ว (ผู้ให้สัมภาษณ์) พรพันธุ์ เขมคุณาศัย (ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 72 หมู่ 1
ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560.
พระไพศาลประชามาศ (ผู้ให้สัมภาษณ์) พรพันธุ์ เขมคุณาศัย (ผู้สัมภาษณ์). ณ วัด
ชลธาราสิงเห หมู่ 3 บ้านท่าพรุ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส.
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2560.
วรรณชัย สองเมืองสุข (ผู้ให้สัมภาษณ์) พรพันธุ์ เขมคุณาศัย (ผู้สัมภาษณ์). ณ บ้านเลขที่ 80/52 ซอยมโนราห์ หมู่ 5 บ้านสวนตูล อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2560.