มันนิ-ซาไก ดนตรีชนพื้นเมืองภาคใต้

Main Article Content

ทยา เตชะเสน์

บทคัดย่อ

 บทความวิชาการฉบับนี้ ผู้เขียนมุ่งเน้นการศึกษาดนตรีชาติพันธุ์มันนิที่อาศัยบริเวณเทือกเขาบรรทัดบริเวณจังหวัด ตรัง พัทลุง ยะลา จนถึงรัฐเคดาห์ รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงของดนตรี โดยการนำเสนอมุมมองด้านการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่มีต่อวัฒนธรรมดนตรีของชาวมันนิ เช่น 1. การเปลี่ยนแปลงเรื่องของการดำรงชีวิตในป่า ปริมาณอาหารและสัตว์ป่าที่น้อยลง 2. การเปลี่ยนเรื่องความเชื่อเรื่องวิญญาณในป่ามาเป็นการนับถือศาสนาอิสลาม 3. การรับรู้วัฒนธรรมหรือสื่อดนตรีสมัยใหม่ จากสภาพปัจจัยดังกล่าวทำให้ชาวมันนิเริ่มมีการปรับตัวในด้านต่าง ๆ ให้เข้ากับสภาพสังคมปัจจุบันเพื่อความอยู่รอดและเพื่อรักษาวัฒนธรรมทางดนตรีของตนเองให้ดำรงอยู่

Article Details

How to Cite
เตชะเสน์ ท. . . (2020). มันนิ-ซาไก ดนตรีชนพื้นเมืองภาคใต้ : . วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 12(2), 219–233. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jhsc/article/view/242176
บท
บทความวิชาการ

References

Brandt, J.H. (1961). The negrito of peninsular Thailand. Journal of the Siam Society, 49, 123-158.

Ismail, E., Amini, F., Razak, S.A., Zaini, H.M., Farhour, R. & Zilfafalil, B.A. (2013). Peninsular Malaysia's negrito orang asli and its theory of African origin. Sains Malaysiana, 42(7), 921-926.

Miller, T.E. & Williams, S. (1998). The Garland Ensyclopedia of World Music. New York: Garland Publishing.

Blench, R. (2006). Musical instruments and musical practice as markers of the Austronesian expansion post-Taiwan. Manila, Philippines: University of the Philippines.

Lawergren, B. (1988). The origin of musical instruments and sounds. Anthropos, 83, 31-45.