ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับการจัดเก็บภาษี จากผู้ประกอบการค้าออนไลน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิดทฤษฎี ปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาข้อกฎหมาย ศึกษากฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายของประเทศไทยเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับการจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบการค้าออนไลน์เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นการศึกษาอกสารจากตัวบทกฎหมาย ตำราทางวิชาการ งานวิจัย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของไทยและของต่างประเทศ มีการจัดทำสนทนากลุ่ม มีการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 4 กลุ่ม คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร กลุ่มผู้ประกอบการ กลุ่มนักวิชาการด้านกฎหมาย และกลุ่มอาจารย์ด้านกฎหมายภาษีอากร
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการจัดเก็บภาษีจากผู้ประกอบการค้าออนไลน์โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ประกอบการในขณะที่จำนวนผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ที่ทำการจดทะเบียนเป็นจำนวนน้อยที่เข้าสู่ระบบการเสียภาษีอย่างถูกต้องนี้ และผู้ประกอบการไม่จดทะเบียน ทำให้ระบบการรายงานข้อมูลจำนวนการนับครั้งรับโอนเงินจึงนำมาใช้ เพื่อช่วยในการตรวจสอบและให้ผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบการจดทะเบียนให้ถูกต้อง รวมถึงผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จำนวนมากที่ขายสินค้าและมีรายรับหรือรายจ่ายเกินกว่า 1,800,000 บาทต่อปี ไม่ได้อยู่ในข่ายที่จะได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด จึงมีหน้าที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มแต่ผู้ประกอบการพาณิชย์ไม่ได้เข้ามาอยู่ในระบบการจัดเก็บภาษี กล่าวคือ ไม่ได้จดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนและเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างถูกต้อง คงเสนอแนะให้มีมาตรการบังคับใช้ในการให้จดทะเบียนให้ถูกต้องและการปรับอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อให้เหมาะสมต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Cheawjindakarn, B. (2018). Qualitative case study research techniques. Liberal Arts Review, 13(25), 103-118.
Churwongboon, T., Chuvutayakorn, P. and Insaeng, C. (2017). The problems of personal income tax collecting: A case of facebook online market in Thailand in year 2017. Payap University Journal, 27(2), 15-30.
Kattipan, A. (2020). Problems regarding tax collection from e-commerce online marketplace business. Ramkhamhaeng University.
Kiatsaraphipop, A. (2020). Monopoly and fair competition: law reform, trade competition. The Secretariat of the House of Representatives.
Koydulya, S. and Kamonpetch. (2021). Principles of microeconomics. Max Printing.
Luangruangrong, T. (2021). General Knowledge Tax Law according to the Revenue Code B.E.2564. (7th ed.). Winyuchon Pub. House.
Muthitacharoen, A. (2021). Economics of taxation. Chulalongkorn University.
Phromchom, S. (2022). Prosecution of online trading in the civil court. Junniti Journal, 19(1), 69-73.
Pinijpuvadol, S. (2019). Tax law. (5th ed.). Winyuchon Pub. House.
Ruerang,T et al. (2021). Problems in listening to opinions and evaluating impacts in enacting laws. Pathum Thani, Western University Research Journal Humanities and Social Sciences, 7(1), 180-191.
Sirikunchoti, S., Sirichutiwong, K., Suebpradit, A., and Chiaranai, P. (2022). Taxation under the revenue code. Ruenkaew Printing.
Srisavat, Y. (2021). The study of company types and the income tax in Malaysia for foreigner Investors. Ramkhamhaeng Law Journal, 10(2), 175-190.
Thanasant, N. (2019). Personal income tax. Sukhothai Thammathirat Open University.
Theerasorn, S. (2019). Marketing communication (5th ed.). Chulalongkorn University Press.
Thrachutham, D. (2020). Tax law. Winyuchon Pub. House.