รูปแบบการลดต้นทุนการขนส่งไข่ไหม กรณีศึกษา ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่น

Main Article Content

ศุภณัฐ จรพุทธานนท์
ชลทิพย์ มินคำ
พิทยารัตน์ รักชาติ
สานิตย์ ปัตตะเน
ภาวิน พชรโชติสุธี
ธีระวัฒน์ จันทึก

บทคัดย่อ

ไข่ไหมเป็นวัตถุดิบสำคัญของการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมโดยศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดขอนแก่นรับผิดชอบขนส่งไข่ไหมให้กับเกษตรกร ได้แก่ จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดกาฬสินธุ์และด้วยความต้องการไข่ไหมและต้นทุนขนส่ง เช่น ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าวัสดุอุปกรณ์ ส่งผลให้ต้นทุนขนส่งสูงขึ้นบทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1.ศึกษาระยะทางและต้นทุนรวมขนส่งต่อรอบขนส่ง 2.เพื่อศึกษารูปแบบวิธีดำเนินการลดต้นทุนการขนส่งและเปรียบเทียบต้นทุนจากกิจกรรมลดต้นทุน ในด้านการวิเคราะห์ จำแนก ต้นทุนของการขนส่ง รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยทฤษฎี วิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า หลักการบริหาร 4 M  และทฤษฎีต้นทุนขนส่งและทฤษฎีตัวแบบขนส่งกระจายสินค้าเป็นกรอบการวิจัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดขอนแก่นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสัมภาษณ์ 2) สืบค้นข้อมูล 3)ประชุมและการวิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายสรุปผลการวิจัยเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า


  1. ขนส่งไข่ไหมมีระยะทางรวมเฉลี่ยต่อรอบอยู่ที่ 344 กมและต้นทุนรวมเฉลี่ยต่อรอบอยู่ที่2,637 บาทส่งผลให้เฉพาะต้นทุนขนส่งเฉลี่ยต่อแผ่นอยู่ที่ 98 บาท

  2. ผลวิจัยพบว่ารูปแบบลดต้นทุนขนส่งไข่ไหมได้แก่ 1.การปรับเปลี่ยนประเภทวัสดุอุปกรณ์ซึ่งลดต้นทุนคงที่ได้รอบละ 157 บาท 2.การนำรูปแบบเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการซึ่งระยะทางต่อรอบเฉลี่ย 63 กมและต้นทุนรวมลดลงรอบละ 176 บาท

ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ในส่วนรูปแบบการลดต้นทุนที่สำคัญได้แก่ 1 การปรับเปลี่ยนประเภทวัสดุอุปกรณ์ 2.การนำรูปแบบเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการ

Article Details

How to Cite
จรพุทธานนท์ ศ., มินคำ ช., รักชาติ พ., ปัตตะเน ส., พชรโชติสุธี ภ., & จันทึก ธ. (2024). รูปแบบการลดต้นทุนการขนส่งไข่ไหม กรณีศึกษา ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่น. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 8(3), 1197–1213. https://doi.org/10.14456/jeir.2024.72
บท
บทความวิจัย

References

Anchalee, C., Chutikarn, J., Jutarat, J., Sanya, T., & Suphon, P. (2011). Effect of Transportation on Silk Worm Eggs and Cocoon Product. Retrieved from https://qsds.go.th

Apichaya, L., Korntip, W., Techamatheekul., & Nukanda, C. (2020). Farmers’ Profitability based on ThaiSilkValue Chain for Development of Community Sericulture Enterprises in Nakhon Ratchasima Province. Suranaree Journal of Technology, 24(2), 25-49.

Bussakorn, C. (2018). Qualitative Case Study Research Techniques. liberal arts journal, 13(25), 103-118.

Charlee, T.& Ratri, S. (2015). Knowledge Management of Agriculturist who Plant the Morus. Khon Kaen Provincial Agriculture and Cooperatives Office. (2017). Agricultural Knowledge.

Naphatcharaphun, K., Naththakarn, N., Nutthanee, S., Putticha, S., Rattana, S., Siriporn, N., Suparuk, T., & Sunisa, J. (2019). The cost and benefits of sericulture farmers in Huaihai Village, Huaiha sub-district, Nakhon thai district,Phisanulok province. Journal of Management Science Phibunsongkhram Rajabhat University, 1(2), 61-74.

Narathip, S. (2019). Product distribution model improvement. by direct delivery method Use a deterministic model [Doctoral dissertation, Faculty of Engineering Khon Kaen University].

Nichanan, K., & Prapatsorn, K. (2016). Factors affecting decision making on silkworm rearing of farmers in Khon Kaen province [Research report, Khon Kaen University].

Nukanda, C., Apichaya, L., & Korntip, W., (2017). Farmers’ Profitability based on Thai Silk Value Chain for Development of Community Sericulture Enterprises in Nakhon Ratchasima Province. Suranaree Journal of Social Science, 14(2), 25-49. https://doi.org/10.55766/XTOM7324

Panupong, S., Kessara, K., & Chakraphong, C. (2018). The Control of the Production of Air Ducts for Reducing Waste and Applying (A case study of 1000 DUCT RATTANABURI COMPANY LIMITED). Rattanakosin Journal of Science and Technology, 2(1), 14–25.

Pattanawich, J., & Warangkana, S. (2020). Physicochemical and Functional Properties of Silkworm Pupae Protein Extract. Thai Journal of Science and Technology, 10(3), 364–377.

Ruetima, M., Woranuch, K., & Ratchanikorn, W. (2020). Study on Cost and Benefit of Mulberry Farming: A Case Study of Weaving Community Enterprise in Nong-Bo Subdistrict, Ubon Ratchathani Province. Journal of Management and Development Ubon Ratchathani Rajabhat University, 8(2), 79-92.

Saranya, N., Navarat, N., & Akkharadet, S. (2020). Development Guidelines of Traditional Silk Products of Khmer Ethnic Group to Increase Value from the Community Local Economy. Journal Of Local Governance and Innovation, 4(3), 234-248.

Sujitra, P., Dussadee, S., Kaset, W., Amaret, N., & Siramas, K. (2022). Local Wisdom Knowledge Management of Production and Reducing The Cost of Khow-Tan Production at Ko Kha District Lampang Province. Journal of Buddhist Anthropology, 7(7), 486–498.