การเรียนรู้ดิจิทัลสำหรับครูยุคใหม่

Main Article Content

ภัทรพันธุ์ นิธิวรัตน์สกุล
ฆฬิสา สุธดาอนันตโภคิน
นัชพล คงพันธ์

บทคัดย่อ

การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้ผู้เรียนที่มีประสบการณ์การเรียนรู้แบบ Digital Learning ทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพที่ดี ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพสูงกว่าการเรียนรู้ที่ไม่ใช้เทคโนโลยีใด ๆ เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้เป็นโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นสำหรับการเรียนรู้ของบุคคลทั้งแบบเรียนรู้ด้วยตนเองหรือเรียนรู้แบบกลุ่ม การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์ การใช้งานสามารถเข้าถึงด้วยการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟน สามารถแบ่งเป็นเครื่องมือเทคโนโลยีรูปแบบออนไลน์สำหรับครู ดังนี้ 1. Plickers เป็นเครื่องมือประเภทการประเมินผู้เรียน หรือสร้างเป็นเกมเพื่อประกอบการสอน 2. Kahoot เป็นเครื่องมือประเภทการตอบคำถามในห้องเรียน 3. ClassDojo เป็นเครื่องมือประเภทที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นสังคมออนไลน์ 4. Google เป็นเครื่องมือที่ได้รับความนิยมสูงสุด 5. Facebook และ 6. Line เป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ของตนเองให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เรียนรู้ได้มากขึ้น เรียนรู้ได้เร็วขึ้น เรียนรู้ได้ถูกต้องและชัดเจนมากขึ้นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ใช้เวลาลดลง เป็นต้น

Article Details

How to Cite
นิธิวรัตน์สกุล ภ., สุธดาอนันตโภคิน ฆ., & คงพันธ์ น. (2023). การเรียนรู้ดิจิทัลสำหรับครูยุคใหม่. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 7(2), 677–686. https://doi.org/10.14456/jeir.2023.45
บท
บทความวิชาการ

References

กอบสุข คงมนัส. (2561). เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้: วิถีแห่งการศึกษายุคดิจิทัล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(4), 279-290.

ชฎาพร จิตศิลป์. (2012). ครูยุคไอที. . สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/ posts/490852

ณรงค์ เพชรล้ำ. (2558). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะสาขาวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ณัฏฐ์ณรัณ แคล่วคล่อง. (2560). สรุปสาระสำคัญจากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “Learn in Line”. กรุงเทพฯ: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

นันทิยา น้อยจันทร์. (2565). ครูยุคดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2565, จาก https://www.komchadluek. net/news/501304

ปัณฑิตา อินทรักษา. (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อสังคมออนไลน์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(4), 357-365.

ภาสกร เรืองรอง. (2559). การฝึกอบรมเรื่องการสร้างแบบประเมินออนไลน์โดยใช้ Google site ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ, วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 8(2), 86-94.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และคณะ. (2562). Digital Learning. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน). (2557). ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน Internet of Things (IOT). กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน).

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2019).ความรู้ดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2565, จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/

แอนณา อิ่มจำลอง และคณะ. (2556). การใช้เฟซบุ๊คเป็นช่องทางการสื่อสารการเรียนการสอนทางด้านนิเทศศาสตร์. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 7(1), 75-93.

Chiarelli, M., Szabo, S., Williams, S. (2015). Texas Journal of Literacy Education, 3(2). 81-88.

Jane Hart. (2017). Top 200 tools for Learning 2017. Retrieved March 3, 2022, from http://c4lpt.co.uk/top100tools/

Licorish, S. (2018). Research and Practice in Technology Enhanced Learning. Retrieved March 3, 2022, from https://telrp.springeropen.com/articles/10.1186/s41039 018 0078 8#Sec3

Sungkawadee, R., & Keawurai, R. (2017). The development of e –learning courseware integrated with activities on Facebook in the ways of living in the digital age course: The ethics of living in the digital era of living for bachelor degree students, Naresuan University. Journal of Education Naresuan University, 19(3), 133 – 146.