การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1

Main Article Content

ภูษณาภรณ์ นาคทิพย์วรรณ
สมใจ สืบเสาะ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบหลักธรรมาภิบาลที่ใช้สำหรับการบริหารสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานและขนาดโรงเรียน รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้ทฤษฎีของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, 2543 เป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัย คือโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 296 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 1 ชนิด คือ 1) แบบสอบถามการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลัก ธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานทดสอบสมมติฐานด้วยค่าสถิติค่าเอฟ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน


ผลการวิจัยพบว่า


  1. การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก

  2. วิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานและขนาดของสถานศึกษาในภาพรวมแตกต่างกันระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ เป็นประโยชน์ เพื่อการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาล

Article Details

How to Cite
นาคทิพย์วรรณ ภ., & สืบเสาะ ส. (2023). การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 7(1), 128–141. https://doi.org/10.14456/jeir.2023.9
บท
บทความวิจัย

References

ก่อเกียรติ สัพโส. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

จตุพร โพธิภักดิ์. (2562). พฤติกรรมผู้นำตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูในสังกัดกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

จุฑามาส นาคปฐม. (2559). การบริหารการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนเทศบาลอินทปัญญาวัดใหญ่อินทาราม เทศบาลเมืองชลบุรี (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชาญชัย พิงขุนทด.(2552). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษากับความพึงพอใจที่มีต่อการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชศรีมา เขต 1-7 ตามทัศนะของครู (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

นิภาพรรณ ผิวอ่อน. (2559). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารสวนตำบลกุยเหนือ อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

บวรศักดิ์ อวรรณโณ. (2542). การสร้างธรรมาภิบาล (Good Governance) ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ:สถาบันพระปกเกล้า.

ปรัชญา คล้ายชุ่ม. (2561). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม (การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.

พงษ์พิพัฒน์ นารินรักษ์. (2563). ปัจจัยการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วิไลพร จันทร์เสงี่ยม. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

สัมมนา รธนิตย์. (2556). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2542). แนวทางการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีในเอกสารประกอบการประชุมประจำปีระหว่างส่วนราชการกับสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เรื่อง การสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี. 20 ธันวาคม 2543. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ . 2555. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good governance). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรี.

สิชล เพิ่มพูน. (2560). ศึกษาการบริหารโรงเรียนโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มเกาะแก้วสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัญฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.

สิรินญา ศิริประโคน.(2560). การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนบ้านมาบเตยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 (การศึกษาค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกริก.

สุจิตรา เรืองยิ่ง(2560). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนตามความคิดเห็นของครู สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดสงขลา (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยทักษิณ.

Cronbach, Lee J. (1990). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row Publishers.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Education and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.