ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี จำแนกตามประสบการณ์และประเภทวิชาในการปฏิบัติงาน รูปแบบวิจัยเป็นวิจัยเชิงปริมาณ ใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมเป็นกรอบการวิจัย พื้นที่ในการวิจัย วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชานี กลุ่มตัวอย่างคือ ครูผู้สอนวิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี จำนวนรวมทั้งสิ้น 148 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบวิธีการเทียบสัดส่วนจำนวนครูในแต่ละสาขาและสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 1 ชนิด คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานีอยู่ในระดับมาก ทั้งโดยรวมและรายด้าน
2. ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี จำแนกตามประสบการณ์และประเภทวิชาที่ปฏิบัติงานโดยรวมและรายด้านมีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การบริหารองค์กรนวัตกรรม ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีความสามารถในการวินิจฉัยองค์กร ส่งเสริมให้บุคลากรคิดค้นและปรับปรุงสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ให้ความสำคัญกับการจัดการความรู้ นำระบบเครือข่ายและระบบเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง
Article Details
References
กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2554). นวัตกรรมและเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
กาญจนา ศิลา. (2556). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตบางเขน(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ขวัญชนก โตนาค. (2556). การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร.
จีราภา ประพันธ์พัฒน์. (2560). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี(วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
จิรประภา อัครบวร. (2552). สร้างคน สร้างผลงาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เต๋า 2000.
จุรีวรรณ จันพลา. (2557). การเสริมสร้างภาวะผู้น่าเชิงนวัตกรรมของผู้ประกอบการในธุรกิจแปรรูปอาหาร(วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ.
จารุนันท์ อิทธิอาวัชกุล. (2551). บริหารคนเหนือตำรา. กรุงเทพฯ: กรุงเทพธุรกิจ Bizbook.
ทองทิพภา วิริยะพันธุ์. (2555). ทักษะผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: G.P. Cyber Print 2550.
นันทนิตย์ ท่าโพธิ์. (2556). การศึกษาสภาพการบริหารความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม.
นิกัญชลา ล้นเหลือ. (2554). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารขั้นพื้นฐาน(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนครพนม.
บุณรดา ทรงบุญศาสตร์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. งานวิจัย: มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.
พิทัก ทิพย์วารี. (2558). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางนวัตกรรมสำหรับผู้บริหารสถาบันการพลศึกษา(วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). การเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักกรรมการวิจัยแห่งชาติ
มัทนา วังถนอมศักดิ์. (2550). รูปแบบแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน(ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต)มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2549). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นตรงของประสิทธิผลภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียน(ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต) มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2542). การบริหาร: หลักการทฤษฎีและประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิพยว์สิทธิ์.
เวียงวิวรรธน์ ทําทูน. (2557). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อองค์การขีดสมรรถนะสูงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 37(3), 31-38.
ศศิประภา ขัยประสิทธิ์. (2553). แนวคิดเชิงนวัตกรรมสำหรับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(2), 117-128.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2554). คู่มือการปฏิบัติงานการต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพ ฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
สุพิชชา พู่กันงาม. (2559). การวิเคราะห์แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา จังหวัดปทุมธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สุวรรณา เทพประสิทธิ์. (2555). ภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, 16(74), 154-167.
สุวิทย์ ยอดสละ. (2556). การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อรชร ปราจันทร์ และ สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน(ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อนุสรา สุวรรณวงศ์. (2558). กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับครูโรงเรียนเอกชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภิวัฒน์ เจนเชี่ยวชาญ .(2549). ภาวะผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารดีเด่น ในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ไอริน โรจน์รักษ์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นองค์การนวัตกรรมกับสมรรถนะในการ สร้างสรรค์นวัตกรรม : กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.วารสาร รัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2(2), 46-60.
Adair, J. (1996). Effective Motivation: How to Get Extraordinary Results from Everyone. London: Pan Books.
Dave. (2007). Characteristics of Innovative Leaders. Retrieved from http://innovativeleadership. blogspot.com/2007/02/innovative-leadershipprogress-at-warp.htm
Horth, D. M., & Vehar, J. (2012). Becoming A Leader Who Fosters Innovation. Greensborough: Center for Creative Leadership.
Institute of Work Psychology. (2003). Work experiences and personality development in young adulthood.
Lindegaard, S (2009). The Open Innovation Revolution: Essentials, Roadblocks and Leadership Skills. New Jersey: Wiley.