การวิจัย: วิธีสอนภาษาอังกฤษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเป็นกระบวนการศึกษา ค้นคว้าอย่างมีระบบ จึงมักนำมาใช้เป็นกระบวนการพัฒนา หรือแก้ปัญหา และใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนให้คุณภาพ ซึ่งส่วนหนึ่งออกมา ในลักษณะวิธีสอน โดยเฉพาะการสอนภาษาอังกฤษที่ต้องใช้วิธีสอนที่เหมาะสมต่อการสอนทักษะ ภาษาอังกฤษด้านนั้นๆ บทความวิชาการนี้ จึงกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการวิจัย วิธีสอนภาษาอังกฤษ และขั้นตอนสอนของวิธีสอนนั้นๆ เพื่อเป็น หลักการและแนวทางแก่ผู้สอนภาษาอังกฤษดังนั้น จึงสรุปได้ว่า การฟังใช้วิธีการแสดงละครและเกม การพูดใช้วิธีสถานการณ์จำลองและโครงงาน การอ่านใช้วิธีผังกราฟิกและ SQ4R และการเขียนใช้วิธี CIRC และ 4MATทั้งนี้ แต่ละวิธีสอนจะมีขั้นตอนการสอนตั้งแต่เริ่มต้น จนสิ้นสุดกิจกรรม และแต่ละวิธีจะมีความเฉพาะของวิธีนั้นๆ
Article Details
References
กรมวิชาการ. (2544). การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). การพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: วีพรินท์.
ชิดชนก เชิงเชาว์. (2539). วิธีวิจัยทางการศึกษา. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ดุษฎี โยเหลา. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชนจากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ.
ทิศนา แขมมณี. (2560).ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.
เธียร พานิช. (2544). 4 MAT การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
นภัทร ทิพธนามาศ. (2556). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นาตยา ปิลันธนานนท์. (2543). การเรียนแบบร่วมมือ. กรุงเทพฯ: แม็ค.
บำเพ็ญ มาตราช. (2554). การพัฒนากิจกรรมการอ่านจับใจความโดยใช้วิธีสอนแบบ SQ4R กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชัฏสกลนคร.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2535). การวัดผลปละประเมินผลการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: B&B
ปทุม ฤกษ์กลาง. (2553). การวิจัยเพื่อการประชาสัมพันธ์. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด.(พิมพ์ครั้งที่ 5 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: เทคนิคพริ้นติ้ง.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2560). วิจัยการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราณี ทองคำ (2542). เกมประกอบการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพันธ์ เดชคุปต์. (2544). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: แนวคิดวิธีและเทคนิคการสอน 1. เพชรบูรณ์: สบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.).
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ พเยาว์ ยินดีสุข และราเชน มีศรี. (2556). การสอนคิดด้วยโครงงานการเรียนการสอนแบบบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มาเรียม นิลพันธุ์ (2554). วิธีวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รัชฎาภรณ์ จันทร์อุดม. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยการบูรณาการเทคนิคการละครและการใช้คำถามเพื่อพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษและทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษา (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตนชัย เอี่ยมพิทักษ์พร. (2545). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการพูดภาษาอังกฤษ ระหว่างวิธีสอนที่ใช้กิจกรรมการละครกับวิธีสอนแบบปกติสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 สาขาการบัญชี โรงเรียนเทคโนโลยีนครปฐม. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
รุ่งนภา ฟูธรรม. (2551). การใช้วิธีการสอนแบบเอส คอว โฟร์ อาร์ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความสามารถในการเขียนเล่าเรื่องของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 4. เชียงใหม่: โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์.
เรืองศักดิ์ อัมไพพันธ์. (2545). 100 Language games. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ลลิตา อุ่นทอง. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคำบาลีสันสกฤตที่ได้รับการสอนโดยใช้เกมกับการสอนแบบปกติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3โรงเรียนบางกะปิ สุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรต.
วัชรา เล่าเรียนดี. 2553). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 5). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปกร.
วารุณี ยะปาน. (2559). การศึกษาความสามารถด้านการฟัง-พูดและแรงจูงใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนบ้านบ่อด้วยวิธีสอนภาษาเพื่อการสื่อสารโดยใช้เพลงและเกม (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
วิจารณ์ พาณิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2543). วัฎจักรการเรียนรู้ 4 MAT การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะเก่งดีมีสุข. กรุงเทพฯ: แว่นแก้ว.
สมทรง อัศวกุล. (2537). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. นครราชสีมา: สมศักดิ์การพิมพ์.
สมบูรณ์ ตันยะ. (2558). วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
สมพงษ์ จิตระดับ. (2530). การสอนจริยศึกษาในระดับประถม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน. กรุงเทพฯ: สกศ.
สุจริต เพียรชอบ. (2531). การพัฒนาการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุจิตรา บุณยรัตพันธ์. (2535). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เทพรัตน์การพิมพ์.
สุปรียา ตันสกุล. (2540). ผลของการใช้รูปแบบการสอนแบบจัดข้อมูลด้วยแผนภาพที่มีต่อสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนและความสามารถทางการแก้ปัญหาของนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัทรา อักษรนุเคราะห์. (2532). การสอนทักษะทางภาษาและวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมิตา เรือนแป้น. (2546). การใช้สถานการณ์จำลองในวิชาภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษและความเชื่อมั่นในความสามารถตนเอง (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2545). 21 วิธีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
อรนุช ลิมตศิริ. (2554). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อรพิน คำพันธ์. (2555). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสือภาพนิทานอีสปประกอบเทคนิค SQ4R สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อุษณีย์ โพธิสุข. (2542). การสอนแบบ 4 MAT : เด็กที่มีความสามารถพิเศษ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
Beauchamp, G. A. (1981). Curriculum theory. Itasca, IL. Ill.: FE Peacock Publishers.
Best, J. W., & Kahn, V. J. (1993). Research in Education. Boston: Ally & Bacon Publishers.
Brown, S., & Glasner, A. (1999). Assessment Matters in higher education Choosing and Using Diverse Approaches. Higher Education, 37, 403–404
Crookall, D. (1990). Simulation/gaming and language acquisition. Simulation, gaming, and language learning, 223-230.
Davies, N. W. (1990). Gas chromatographic retention indices of monoterpenes and sesquiterpenes on methyl silicon and Carbowax 20M phases. Journal of chromatography, A (503), 1-24.
Hills, C. A. (1982). The report of the President's Commission on housing (Vol. 81). President's Commission on Housing.
Holden, S. (1981). Drama in language teaching (Vol. 19). Harlow: Longman.
Hough, J. B., & Duncan, J. K. (1970). Teaching: Description and analysis (Vol. 2987). Addison Wesley Publishing Company.
John, E. P. (1989). The influence of student aid on persistence. Journal of Student Financial Aid, 19(3), 5.
Johnson, D. W. and R. T. Johnson. (1987).“Research shows the benefits of adult cooperation.” Educational leadership, 16(2), 27-30.
Joyce et al. (1992). model of teaching. Boston: Allyn and Bacon.
Kerr, A. W. (1997). Motivational antecedents of precompetitive anxiety in youth sport. The Sport Psychologist, 11(1), 24-42.
Maley, A. (2005). Drama techniques: a resource book of communication activities for language teachers. Alan Maley, Alan Duff.
McNally, J., & Blake, A. (Eds.). (2010). Improving learning in a professional context: A research perspective on the new teacher in school. New York: Routledge.
Redden, J. D. Ryan. FA (1942). A Catholic Philosophy of Education. Milwaukee, WI: The Bruce Publishing Company.
Rice, W. L. (1991). Leadership behavior of elementary school principals and teachers in five Central Savannah River Area School Districts in Georgia. Dissertation Abstracts International,52 (2), 378–A.
Slavin, R. E. (1995). Cooperative learning: Theory research and practice. 2nd ed. Boston: Allyn & Bacon.
Sturtridge, G. (1977). Using simulation in teaching English for specific purposes. English for Specific Purposes, 32-34.
Sturtridge, G. (1983). Simulations ELT guide 2. London: NFER.
Taba, H. (1962). Curriculum development: Theory and practice. New York: Harcourt, Brace & World.