ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว ที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวจังหวัดพิษณุโลก
คำสำคัญ:
ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว , การจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว , การวิเคราะห์ถดถอย- เชิงพหุคูณบทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาองค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวที่มีอิทธิผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวภายในแหล่งท่องเที่ยวเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาการจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวจังหวัดพิษณุโลกมากขึ้น และส่งเสริมให้จังหวัดพิษณุโลกมีรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นโดยการศึกษาในครั้งนี้ได้ดำเนินการการทบทวนองค์ประกอบโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว ได้แก่ ด้านการไหลทางกายภาพ ด้านการไหลของสารสนเทศ ด้านการไหลทางการเงิน ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านความยั่งยืน เพื่อนำมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อองค์ประกอบของการจัดการ
โลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อความภัคดีของนักท่องเที่ยว โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 400 ตัวอย่าง และมาทำการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิเคราะห์ พบว่า องค์ประกอบโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยว 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการไหลของสารสนเทศ ด้านการไหลทางการเงิน ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกและด้านความยั่งยืนมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
References
Bakhtiar, M. R., & Sunarka, P.S., (2020). The Factors of Tourist Satisfaction Enhancement in Double-Decker Tour Bus. Jurnal Konsep Bisnis dan Manajemen, 7(1), 82-93.
Chaiyadecha, S. (2022). Scatter matrix, Correlation matrix and Variance Inflation Factor (VIF).( 3 November 2 023), Retrieved: https://lengyi.medium.com/multicollinearity-testpython-608b090106f3
Farzanegan, M. R., Gholipour, H. F., Feizi, M., Nunkoo, R., & Andargoli, A. E. (2021). International Tourism and Outbreak of Coronavirus (COVID-19): A Cross-Country Analysis. Journal of Travel Research, 60(3), 687–692. https://doi.org/10.1177/0047287520931593
Giao, H.N.K., Vuong, B.N., Phuong, N.N.D., & DAT, N.T. (2021). A Model of Factors Affecting Domestic Satisfaction on Eco-tourism Service Quality in the Mekong Delta, Vietnam.
Geo Journal of Tourism and Geosites, 36(2), 663–671. https://doi.org/10.30892/gtg.362spl14-696
Nopphakate, K., & Aunyawong, W. (2022). The relationship of tourism logistics management and destination brand loyalty: The mediating role of Thailand tourist satisfaction.
International Journal of Health Sciences, 6(S5), 356–366. https://doi.org/10.53730/ijhs.v6nS5.7833
Tiranan. W, & Nuchakorn. K. (2020). The Potential of Logistics Management for Supporting Tourists: A Case Study on Khao Soon in Chawang District Nakhon Si Thammarat Province. International Journal of Supply Chain Management, 9(4), 1237 – 1243.
Yamane, T. (1970). Statistics: An Introductory Analysis. (2d ed.). ToKyo: John Weatherhill, Inc.
กนก บุญศักดิ์, สิทธิชัย พรหมสุวรรณ, เสรี วงษมณฑา และวาสนา กีรติจำเริญ. (2561). อิทธิพลของปัจจัยที่มีต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อการท่องเที่ยวบนฐานชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารชุมชนวิจัย. 12(1), 10–28.
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565, 10 มิถุนายน). รายจังหวัดสถิติด้านการท่องเที่ยว ปี 2566 (Tourism Statistics 2023). https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=411
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565, 10 มิถุนายน). จำนวนและรายได้นักท่องเที่ยวต่างชาติ รายเดือน ปี 2561-2565R. https://www.mots.go.th/news/category/585
กรมการท่องเที่ยว. (2565). แผนพัฒนาบริการท่องเที่ยว พ.ศ. 2566 – 2570. สืบค้นวันที่ 10 มิถุนายน 2567 จาก https://www.dot.go.th/storage/%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E
%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AF/QtftdpYXKOCrXLds1f5xJfseslXaXcpgu3q3oDnM.pdf
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2566). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 –2570). สืบค้นวันที่ 10 มิถุนายน 2567 จาก https://planning.dusit.ac.th/main/wp-content/
uploads/2023/06/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-3-%E0%B8%9E.pdf
ฐิตาภา ตันติพันธ์วดี. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจ และความตั้งใจกลับไปเที่ยวซํ้าของนักท่องเที่ยวที่เลือกเดินทางท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต ช่วงการระบาดโควิด – 19 (ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยมหิดล). จาก https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4652
เถกิงศักดิ์ ชัยชาญ. (2555). การจัดการโลจิสติกส์สำหรับการท่องเที่ยวในอำเภอวังน้ำเขียวจังหวัดนครราชสีมา.วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 6(2), 17–33.
บุญชม ศรีสะอาด. (2543). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สุรีริยาสาสน์การพิมพ์.
ปนัสยา สิระรุ่งโรจน์กนก. (2559). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยต่อการจัดการโลจิสติกส์การท่องเที่ยว กรณีศึกษา ตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยบูรพา). จาก http://61.7.151.244/moodle/pluginfile.php/36078/mod_resource/content/1/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%201.pdf
ปวีณา ขำพัด และพะยอม ธรรมบุตร. (2564). แนวทางเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวแบบบูรณาการอย่างยั่งยืนของจังหวัดพิษณุโลก ประเทศไทย. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา. 11(1), 187–199.
พัทธนันท์ ศรีทองคำ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าผู้มาใช้บริการธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).จาก https://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/57750141.pdf
ไพรัช พิบูลย์รุ่งโรจน์. (2566, 22 กันยายน). องค์ประกอบของการจัดการโลจิสติกส์ของแหล่งท่องเที่ยว (PIFFS Analysis) The Five Core Components of Logistics of Tourist Attractions. https://pairach
.com/piffs/
พลธนธรณ์ ประดิษฐเวทย์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจและการกลับมาท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวที่มีต่อชุมชนท่องเที่ยว ธ.ก.ส. ในเขตพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย (ปริญญามหาบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการ,มหาวิทยาลัยมหิดล). จาก https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3662
วรรัฏฐ์ แก้วไพรินทร์. (2564). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อวัดในตำบลคลองสระบัวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).จาก http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/4978/1/vorrarat_kaeo.pdf
วิวัฒน์ จันทร์กิ่งทอง, กอแก้ว จันทร์กิ่งทอง, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, ดวงฤดี อุทัยหอม และนิศาชล สกุลชาญณรงค์.(2564). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวชุมชน จังหวัดสงขลา. รายงานสืบเนื่องการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 11 ประจำปี 2563, วันที่ 17 กรกฎาคม 2563 ณ หาวิทยาลัยหาดใหญ่, 1782–1797.
วิวัฒน์ จันทร์กิ่งทอง, ยรรยง คชรัตน์, ประภาศ ปานเจี้ยง, ภัททิรา กลิ่นเลขา, ธิดารัตน์ น้อยสุวรรณ และสิริรัตน์ หลุยยะพันธ์. (2560). ความภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่ออุทยานแห่งชาติธารเสด็จ-เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. รายงานสืบเนื่องการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติครั้งที่ 8 ประจำปี 2560, วันที่ 22 มิถุนายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 860–870.
ศุภิสรา โตศิริวัฒนานนท์. (2561). อิทธิพลของคุณภาพบริการและการรับรู้คุณค่าต่อความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าต่อสายการบินภายในประเทศไทย (ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ). สืบค้นจาก
http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/3142/1/supisara.tosi.pdf
สิรินรา ชัยคำดี. (2561). รูปแบบการท่องเที่ยวที่ตรงใจผู้สูงอายุในยุค Aging Society (ปริญญามหาบัณฑิต,วิทยาลัยการจัดการ, มหาวิทยาลัยมหิดล). สืบค้นจาก https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle
/123456789/3293
สุธาสินี อัมพิลาศรัย. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความยั่งยืนของหมู่บ้านท่องเที่ยวเมืองรองในประเทศไทย(ปริญ ญ าดุษฎีนิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณ ฑิตย์). สืบค้นจากhttps://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Suthasinee.Amp.pdf
สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566, 24 กันยายน).สถิตินักท่องเที่ยว. https://www.mots.go.th/more_news_new.php?cid=411
สำนั ก งาน จังห วัดพิ ษ ณุ โลก. (2566, 22 กัน ยายน ). ที่ ตั้ งและอาณ าเขต ของจังห วัด พิ ษ ณุ โลก.https://www.phitsanulok.go.th/data.html
อดิศัย วรรธนะภูติ, จันทนา แสนสุข, จันทิมา บุญอนันต์วงค์ และอัจฉราพร โชตน์วรกาญจน์. (2563).การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์และความภักดีของนักท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 18(2), 15–29.
อรกิติ์ แววคล้ายหงษ์. (2565). การจัดการการท่องเที่ยวและโลจิสติกส์การท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทย (ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์). สืบค้นจาก
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.