จริยธรรมการสื่อสารการตลาดดิจิทัลของผู้มีอิทธิพลเพื่อแสวงหาแนวทาง การสื่อสารที่สมดุลระหว่างการตลาดอย่างสร้างสรรค์และการโน้มน้าวสังคม ด้วยประโยชน์ส่วนบุคคล

ผู้แต่ง

  • อโณทัย งามวิชัยกิจ รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

การสื่อสารการตลาดดิจิทัล, จริยธรรม, ผู้มีอิทธิพลออนไลน์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศึกษารูปแบบการละเมิดจริยธรรมและกฎหมายจากกรณีศึกษาการสื่อสารการตลาดผ่านผู้มีอิทธิพลที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และเสนอแนะแนวทางการสื่อสารการตลาดดิจิทัลผ่านผู้มีอิทธิพลอย่างมีจริยธรรมให้แก่นักการตลาดในประเทศไทย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพผ่านสื่อดิจิทัล ผู้วิจัยทำการเก็บข้อมูลอย่างเฉพาะเจาะจงได้  10 กรณีศึกษา จากเกณฑ์คัดเลือกการสื่อสารการตลาดของผู้มีอิทธิพลเข้าข่ายการละเมิดทางกฎหมาย และมีผู้ใด้รับความเสียหายในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2561-2566 ผลการวิจัยแสดงรูปแบบการละเมิดจริยธรรมทั้ง 5 รูปแบบ ได้แก่ การชักจูงผู้ติดตามไปสู่ผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมาย การชักจูงผู้ติดตามให้ใช้ผลิตภัณฑ์ปลอม หรือไม่ได้มาตรฐาน การหลอกลวงฉ้อโกงให้ซื้อหรือลงทุนในผลิตภัณฑ์อันเป็นเท็จ การโน้มน้าวการตัดสินใจของกลุ่มเปราะบาง และการลบหลู่ พาดพิง ล้อเลียนบุคคล ที่ก่อเกิดความแตกแยกทางสังคม  แนวทางการสื่อสารการตลาดดิจิทัลผ่านผู้มีอิทธิพลเกี่ยวข้องกับ 4 ภาคส่วน อันได้แก่ ผู้มีอิทธิพลออนไลน์ นักการตลาดดิจิทัล สมาคมวิชาชีพและหน่วยงานภาครัฐ และผู้บริโภคควรร่วมกันสนับสนุนแนวทางการสื่อสารการตลาดดิจิทัลผ่านผู้มีอิทธิพลอย่างมีจริยธรรม เพื่อการตลาดที่ยั่งยืนและเอื้อประโยชน์ต่อผู้บริโภคในสังคม

References

Borchers, N. S., & Enke, N. (2022). “I've never seen a client say:‘Tell the influencer not to label this as sponsored’”: An exploration into influencer industry ethics. Public relations review, 48(5), 102235.

Bogle, A. (2017). Social media influencers, it’s time to be truthful about your# ads. Mashable. Retrieved from https://mashable.com/article/australia-advertising-instagram-influencers

Brown, D., & Fiorella, S. (2013). Influence marketing: How to create, manage, and measure brand influencers in social media marketing. Que Publishing.

Brown, D., & Hayes, N. (2008). Influencer marketing. Elsevier.

Chaudhry, R., & Sharma, A. (2018). Ethical issues in digital marketing-A review. ITIHAS-The Journal of Indian Management, 8(1). 10-18.

Creswell, J. W., & Poth, C. N. (2016). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches. Sage publications.

Duffy, B. E. (2017). (Not) getting paid to do what you love: Gender, social media, and aspirational work. Yale University Press.

Eagle, L., & Dahl, S. (2015). Marketing ethics & society. Sage.

Electronic Transactions Development Agency. (2020). Thailand Internet User Behavior 2020. Retrieved from https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/publications/Thailand-Internet-User-Behavior-2020.aspx

Kozinets, R. V. (2015). Netnography: redefined. Sage.

Smit, C. R., Buijs, L., Van Woudenberg, T. J., Bevelander, K. E., & Buijzen, M. (2020). The impact of social media influencers on children’s dietary behaviors. Frontiers in psychology, 10, 2975.

Sweeney, E., Lawlor, M. A., & Brady, M. (2022). Teenagers’ moral advertising literacy in an influencer marketing context. International Journal of Advertising, 41(1), 54-77.

von Mettenheim, W., & Wiedmann, K. P. (2022, May). Hate Speech and Bad Language: The Ugly Face of Social Influencers and Its Impact on Brands: An Abstract. In Academy of Marketing Science Annual Conference (pp. 291-292). Cham: Springer Nature Switzerland.

Wellman, M. L., Stoldt, R., Tully, M., & Ekdale, B. (2020). Ethics of authenticity: Social media influencers and the production of sponsored content. Journal of Media Ethics, 35(2), 68-82.

WorkpointToday. (2022, 18 March). The Act prohibits advertising of liquor and beer small brand dies Big brands don't grow up. Retrieved from https://workpointtoday.com/explaine-alcohol/. [In Thai]

กรุงเทพธุรกิจ. (2565, 25 มีนาคม). บทสรุปโฆษณาดิจิทัลปี 64 การเติบโตเกินคาด 18% Facebook กุมเงิน 1 ใน 3 ของตลาด. สืบค้นวันที่ 27 พฤษภาคม 2565 จาก https://www.bangkokbiznews.com/ business/995574

นัฐพงษ์ สุขประเสริฐ และปรีชา คำมาดี. (2563). ผู้ทรงอิทธิพลจริยธรรมทางการตลาดของผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์: จริยธรรมทางการตลาดของผู้ทรงอิทธิพลทางความคิด. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(1), 213-222.

ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา. (2559). Netnography: ระเบียบวิธีวิจัยเพื่อแสวงหาความจริงในชุมชนและ วัฒนธรรมออนไลน์แห่งยุคโพสต์โมเดิร์น. Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia, 22(2), 1-17.

อโณทัย งามวิชัยกิจ. (2564). การตลาดดิจิทัล. MarketingEverywherebyAnothai.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30

How to Cite

งามวิชัยกิจ อ. . (2023). จริยธรรมการสื่อสารการตลาดดิจิทัลของผู้มีอิทธิพลเพื่อแสวงหาแนวทาง การสื่อสารที่สมดุลระหว่างการตลาดอย่างสร้างสรรค์และการโน้มน้าวสังคม ด้วยประโยชน์ส่วนบุคคล. วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 5(2), 51–65. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/iba/article/view/272361