ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์กับการบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสงขลา เขต 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์กับการบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 317 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบตรวจสอบรายการ (Check list) และแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) โดยค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ 0.989 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน นำเสนอการวิเคราะห์รายคู่ลายเส้นด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป AMOS ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด การบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์กับการบริหารจัดการความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 มีความสัมพันธ์กันทางบวก ในระดับสูง (r= .70) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Downloads
Article Details
ลิขสิทธิ
References
กัณฑ์กณัฐ สุวรรณรัชภูม์. (2557). ภาวะผู้นำกลยุทธ์: รูปแบบของผู้นำ
ยุคใหม่. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต (สาขาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กิตติภัฏ รัตตนุสสรณ์. (2561). “ศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.” วารสารบริหารการศึกษา มศว. 15(29), 80.
ขวัญแก้ว จันทรัตน์. (2562). การบริหารความเสี่ยงทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
จรรยรัศม์ อินนพคุณ. (2563). “การจัดการความเสี่ยงในหน่วยงานภาครัฐ กรณีศึกษาหน่วยงานราชการ อำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี.” วารสารรัชต์ภาคย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 14(33), น. 92-93.
จิรัชญา ผาลา, วีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์ (2558). “การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน ในเขตภาคเหนือตอนบน.” วารสารสังคมศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น. 38(1), น. 134-135.
ธร สุนทรายุทธ. (2550). การบริหารจัดการความเสี่ยงทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทเนติกุลการพิมพ์ จำกัด.
นฤมล สะอาดโฉม. (2550). การบริหารความเสี่ยงองค์การ Enterprise Risk Management. กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2550). การจัดการสำนักงาน : Office Management. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท เซ็นทรัล เอ็กเพรส จำกัด.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2560). การจัดการสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
ปิยะรัตน์ เสนีย์ชัย. (2554). การบริหารความเสี่ยงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2. สารนิพนธ์การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2551). “ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์.” วารสารการจัดการสมัยใหม่. 6(2), น. 10.
ราชกิจจานุเบกษา. (2556). ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562. เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 68 ง หน้า 18 (20 มีนาคม 2562)
ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2562. เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 56 ก หน้า 255 (30 เมษายน 2562)
ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562. เล่มที่ 136 ตอนที่ 57 ก หน้า 49 (1 พฤษภาคม 2562)
วรรณฤดี มณฑลจรัส และอนุสรา สุวรรณวงศ์. (2562). “ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนประชารัฐ กรณีศึกษาจังหวัดพัทลุง.” วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร. 10(2), น. 244-260.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2548). ผู้บริหารโรงเรียน: สามมิติการพัฒนาวิชาชีพสู่ความเป็นผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ทิพย์วิสิทธิ์.
ศราวุธ ชุมภูราช. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์กับการจัดการความเสี่ยงของสถานศึกษา สังกัดอาชีวะศึกษาจังหวัดชายแดนใต้. ปริญญาศึกษาศาตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2555). “การบริหารความเสี่ยงกับการกำกับดูแลกิจการ.” Corporate Governance. 35(135), น. 1-3.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2551). การบริหารเชิงกลยุทธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์ ปริ้นติ้งแอนพับลิสชิ่ง.
สมชาย เทพแสง และทัศนา แสวงศักดิ์. (2553). “ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนของจังหวัดทางภาคเหนือตอนบน.” วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์). 2(1), น. 201-210.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2550). ภาวะผู้นำ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2562). แผนบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2562. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม2563, จากhttp://audit.kpru.ac.th/images/pdf-Knowledge/internal-control-and-risk-Management. Pdf
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1. (2562).
กลุ่มสารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2562, จาก http://data.bopp-ec.info/emis/school
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิก จำกัด.
Davies, B., Davies, B.J. and Ellison, L. (2006). Processes Not Plans Are the Key to Strategic Development. Nottingham: National College for School Leadership.
DuBrin, A. J. (2007). Leadership: Research findings practice and skills. 6th ed. Boston MA: Houghton Miffin.
Ireland, R. D. & Hitt, M. A. (1999). Achieving and maintaining strategic competitiveness in thetwenty-first century: The role of strategic leadership. Academy of Management Executive, 13(1): p. 43-57.