THE THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL TO ENHANCE KNOWLEDGE CONSTRUCTION AND CREATIVE PROBLEM SOLVING FOR PRATOMSUKSA 5 STUDENTS

Main Article Content

นางยุพิน นารีหวานดี

Abstract

The purposes of the research were to: 1. to development of instructional model to enhance knowledge construction and creative problem solving for Pratomsuksa 5 students and
2. To study the efficiency of instructional model to enhance knowledge construction and creative problem solving for Pratomsuksa 5 students with the 80/80 efficiency index.
The sample used in this research was 5 experts in the development of teaching styles and quality inspection experts and 40 grade 5 students derived by cluster random sampling. Research design is Research and Development. The results were found that 1. The instructional model consists of 6 components which are 1) the principles of teaching and learning style, 2) the objectives of teaching and learning, 3) teaching and learning activities that promote knowledge creation and creative problem solving, consisting of step 1: learning the situation, step problems Step 2: Finding a solution to the problem Step 3: Selecting, preparing and planning for the problem solving Step 4 Implementing the problem Step 5 Reflecting the results This problem 4) intellectual 5) the role of the learner and the instructor, and 6) evaluation.
2) The efficiencies of the instructional model were 83.33/84.00

Article Details

How to Cite
นารีหวานดี น. (2020). THE THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL TO ENHANCE KNOWLEDGE CONSTRUCTION AND CREATIVE PROBLEM SOLVING FOR PRATOMSUKSA 5 STUDENTS. JOURNAL OF HUMANITIES AND SOCIAL SCIENCES SONGKHLA RAJABHAT UNIVERSITY, 2(2), 133–159. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoskru/article/view/242713
Section
Research Articles

References

คมสัน เอียการนา (2554). การพัฒนารูปแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จิตรดา ใจแน่น (2554). ผลของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่องปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชิษนุ เจียมบุญศรี (2555). การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ บนระบบการจัดการเรียนการสอน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปรมะ แขวงเมือง. (2561). ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้และการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(1), 175-184
พรวุฒิ คำแก้ว และ สุมาลี ชัยเจริญ (2560). การออกแบบและพัฒนาโมเดลสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์สำาหรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 30(1), 1-10.
พัทธนันท์ ศรวิชัย (2555). ผลของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการคิดเชิงสังเคราะห์เรื่องการเขียนเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สํานักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). การศึกษาเพื่ออาเซียน หนึ่งวิสัยทัศน์หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สำนักนายกรัฐมนตรี (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สืบค้นจากhttp://www.royalthaipolice.go.th/downloads/plan12.pdf
สิทธิชัย ชมพูพาทย์. (2554). การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนการสอนเพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของครูและนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์. วิทยานิพนธ์ ปร.ด., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2559). การออกแบบการสอนหลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: เพ็ญพริ้นติ้ง
Gilbert, J. N., & Driscoll, P. M. (2002). Collaborative knowledge building: A case study. Educational Technology Research and Development, 50(1), 59–79.
Winn, W., & Snyder, D. (1996). Cognitive Perspectives in Psychology. In D. H. Jonassen (Ed.), Handbook of Research for Educational Communications and Technology (pp. 112-142). New York: Macmillan. Retrieved April 2006, from http://www.aect.org/edtech/ed1/pdf/05.pdf