อัตลักษณ์การแต่งกายของคณะสงฆ์อนัมนิกาย แห่งประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/husoaru.2024.14คำสำคัญ:
พระพุทธศาสนา, อนัมนิกาย, อัตลักษณ์การแต่งกายบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพืออธิบายถึงอัตลักษณ์การแต่งกายของคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช พระองค์ได้ทรงรับพระพุทธศาสนาเป็นศาสนา ประจํา ชาติทรงอุปถัมภ์บํารุงให้เจริญรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบันนี้และนิกายสําคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่าง ต่อเนื่องและยาวไกลมีอยู่ 2 นิกาย คือ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ต่อมาในช่วงรัชกาลที่ 5 ได้มีการตั้งคณะสงฆ์อนัมนิกายในประเทศไทยจึงเป็นนิกายหนึ่งของศาสนาพุทธมหายานจากประเทศเวียดนามได้เข้ามายังกรุงเทพมหานครต่อมาได้รับการอุปถัมภ์ จากชุมชนจีนและไทยด้วยเหตุผลทางด้านการเมืองและวัฒนธรรมชุมชนของพุทธอนัมนิกาย ซึ่งในการแต่งกายของคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน พระสงฆ์ฝ่ายอนัมนิกายและฝ่ายจีนนิกายจะสวมเสื้อและกางเกง ครองจีวร และไม่โกนคิ้ว ซึ่งแตกต่างจากพระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทครองสบง จีวร สังฆาฏิ และโกนคิ้ว อย่างไรก็ตาม อัตลักษณ์ทางศาสนาแนวคิดและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับประเพณีและการประกอบ พิธีกรรมด้านต่างๆ ของคณะสงฆ์มหายานอนัมนิกายในสังคมไทยจะเห็นได้ว่านอกกจากการห่มจีวร ของพระสงฆ์ในนิกายมหายานที่มีรูปแบบหลากหลายคือ “พิธีกรรมต่างๆ ที่สืบทอดมานานอย่างยาวไกล ทำให้เกิดการสืบสานมาเป็นองค์กรทางศาสนานาม “อนัมนิกาย” พร้อมการปรากฏอัตลักษณ์ของพระญวนหรือคณะสงฆ์อนัมนิกาย คือ อัตลักษณ์ด้านการแต่งกายบัดนั้นเป็นต้นมา
References
คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย. (2556). อนัมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วัดสุนทรประดิษฐ์ (คั้นอังตื่อ).
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2545). แนวคิดในการศึกษาอัตลักษณ์ความเป็นไท. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระบริหารอนัมพรต (ถาวร มินเอิง). (2543). อุภัยฉลอง. ประชาชน.
พระพุทธโฆษาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (2546). คัมภีร์วิสุทธิมรรค (พิมพ์ครั้งที่4). ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง.
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535. (2535). ราชกิจจานุเบกษา, 109(16), 5-11.
พิธีทอดผ้าป่า ประวัติความเป็นมาของการทำบุญทอดผ้าป่า. (2554). DMC.TV. https://www.dmc.tv/ประวัติความเป็นมาของการทำบุญทอดผ้าป่า-พิธีทอดผ้าป่า_LEFT.html
พุทธทาส ภิกขุ. (2543). สุญญตา. กองตำราคณะธรรมทาน สวนโมกขพลาราม.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ยุรฉัตร บุญสนิท. (2546). ลักษณะความสัมพันธ์ของวรรณกรรมกับสังคม. ใน พัฒนาการวรรณคดี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.
ร้านต่อบุญ 2559. (2566). สีจีวรผ้าไตร ที่วัดไทยใช้. http://www.sasiraboon.com/article/36/สีจีวรผ้าไตร
หลวงวิจิตรวาทการ. (2546). ศาสนาสากล (เล่ม 2). สร้างสรรค์บุ๊คส์.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2540). การพัฒนาบุคลิกภาพ. อักษรพิทยา.
องปลัดสิทธิศักดิ์ เถี่ยนยา (แซ่โค้ว). (2557). การบริหารจัดการประสิทธิภาพการสาธารณะสงเคราะห์ของคณะสงฆ์อนัมนิกายในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
องสรภาณอนัมพจน์ (พิสิษฐ์เถี่ยนบ๊าว/ศรีวิชา). (2546). การพัฒนารูปแบบการบริหารที่มีประสิทธิภาพของคณะสงฆ์อนัมนิกายในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อรัสธรรม ดีระดอม. (2526). บทบาทของพระสงฆ์มหายานในการพัฒนาสังคม: ศึกษาเฉพาะกรณีพระสงฆ์จีนนิกายและอนัมนิกายในภาคกลางของประเทศไทย [วิทยา นิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Minh, C., Ha, V. T., & Nguyen, T. T. (1993). Buddhism in Vietnam. Gioi.
Nguyen, T. T. (Ed.). (2009). The history of Buddhism in Vietnam. Council for Research in Values and Philosophy.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา