พื้นที่ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมบ้านอาฮี ตำบลอาฮีอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย กับแนวทางการจัดการท่องเที่ยวชุมชนสู่ความยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • ไทยโรจน์ พวงมณี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

DOI:

https://doi.org/10.14456/husoaru.2024.7

คำสำคัญ:

พื้นที่ทางประวัติศาสตร์, พื้นที่ทางวัฒนธรรม, การท่องเที่ยวชุมชน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพื้นที่ประวัติศาสตร์และพื้นที่วัฒนธรรมบ้านอาฮี และศึกษาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวชุมชนสู่ความยั่งยืนด้วยการใช้พื้นที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมบ้านอาฮี ใช้แนวคิดและทฤษฎีการจัดการท่องเที่ยวชุมชนในการศึกษา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการศึกษาเอกสารและลงพื้นที่ภาคสนาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) บ้านอาฮีเป็นพื้นที่ที่มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยมีการศึกษาผ่านตำนาน เรื่องเล่าและหลักฐานทางวัตถุและโบราณคดี บ้านอาฮีจึงมีพื้นที่ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมซ้อนทับกันอยู่ในพื้นที่หลายช่วงเวลา และกลุ่มการจัดการท่องเที่ยวได้นำข้อมูลมาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารทางการท่องเที่ยวของชุมชน และ 2) แนวทางการจัดการท่องเที่ยวชุมชนสู่ความยั่งยืนด้วยการใช้พื้นที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมบ้านอาฮี แบ่งแนวทางเป็น 5 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยวชุมชน (2) ด้านการอนุรักษ์และการส่งเสริมการเรียนรู้พื้นที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม (3) ด้านการจัดการเศรษฐกิจ สังคมและวิถีการดำเนินชีวิต (4) ด้านการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และ (5) ด้านการจัดการระบบความปลอดภัย

References

กนกณิศา ธนาโชคพิสิษฐ์ และอลงกรณ์ อรรคแสง. (2564). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของอำเภอเขมราฐจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(6), 177-191.

กฤษฎา ไชยงาม, ไพโรจน์ เชื้อคำเพ็ง, สุริทัศน์ วรรณสาร, ไพรินทร์ คุณมี, ภริตา อากรตน, อภิชญา ชัยบุตร, สอน ดามัง, สัญญา สิทธิ, ธีรนันท์ พิทักษ์ราษฎร์, ประเดิม อุ่นเมือง, นภัสนันท์ อ่อนตา, รำไพ กาแก้ว, กฤตพร พิทักษ์ราษฎร์, สายใจ กันระเรศ, เสลี่ยง สิทธิ์เทียมทอง, และดำรงศักดิ์ มะโนแก้ว. (2560). การศึกษาศักยภาพชุมชนเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วมบ้านอาฮี อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

กาญจนา เหล่าโชคชัยกุล. (2566). กระบวนการในการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์สังคม และวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 18(2), 47-60.

จริยกรณ์ ทองปั้นวรัธน์, พรกมล ระหาญนอก, พรสวรรค์ ศิริกัญจนาภรณ์, และไทยโรจน์ พวงมณี. (2566). การพัฒนากลยุทธ์การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 258-271.

ดุษฎี บุญฤกษ์ และไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ. (2562). รูปแบบการค้นหาเส้นทางในพื้นที่ชุมชนประวัติศาสตร์ย่านพระอาทิตย์ กรุงเทพมหานคร. วารสารสถาปัตยกรรมการออกแบบและการก่อสร้างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 1(2), 68-84.

เตชวัน ปัญญาวุฒิธรรม และเกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์. (2566). แนวทางการจัดการมรดกวัฒนธรรมของเมืองเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 11(1), 21-49.

ไทยโรจน์ พวงมณี. (2553). การศึกษาอัตลักษณ์ประเพณีผีตาโขนประเพณีผีขนน้ำและประเพณีดอกไม้: การออกแบบสร้างสรรค์ชุดการแสดงสำหรับการนำเสนอภาพลักษณ์การท่องเที่ยวจังหวัดเลย. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.

ไทยโรจน์ พวงมณี, คชสีห์ เจริญสุข, พชรมณ ใจงามดี, และณศิริ ศิริพริมา. (2565). แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มการจัดการท่องเที่ยวภูหมากเค็ง ตำบลหนองคัน อำเภอภูหลวง จังหวัดเลย. วารสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน, 4(2), 56-77.

ไทยโรจน์ พวงมณี, ศิริ ศิริพริมา, คชสีห์ เจริญสุข, และพชรมณ ใจงามดี. (2565). พื้นที่ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมวัดศรีจันทร์ บ้านนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย กับการ จัดการแหล่งเรียนรู้และการท่องเที่ยวของชุมชน. พิฆเนศวร์สาร, 18(2), 115-131.

ธวรรณเทพ มงคลศิริ และฐนธัช กองทอง. (2562). เอเชียทีค: ทุนทางวัฒนธรรมกับการสร้างสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ย่านทันสมัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 13(2), 174-195.

ธีระวัฒน์ แสนคำ. (2560). ชุมชนโบราณบ้านอาฮี: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของชุมชนโบราณในลุ่มแม่น้ำเหือง. วารสารพื้นถิ่นโขงชีมูล, 3(1), 85-118.

นฤมล นิ่มนวล. (2565). การจัดการพื้นที่สาธารณะในเขตเมืองเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม: กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 9(1), 47-58.

บุษราคัม กลั่นน้ำทิพย์ และอัญชัญ ตัณฑเทศ. (2566). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของตลาดวิถีชุมชนโอ๊ะป่อย จังหวัดราชบุรี. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 9(7), 259-274.

มนตรี คำวัน. (2564). โอกาสและความท้าทายของการพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย. วารสารการเมืองการปกครอง, 11(3), 240-258.

มานะ ขุนวีช่วย. (2560). ชุมชนมะนัง จังหวัดสตูลจากพื้นที่ประวัติศาสตร์และมรดกความทรงจำ. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 12(1), 237-260.

เมทินี โคตรดี, ธนชัย อุ้ยลี, และอำภา บัวระภา. (2561). แนวทางการจัดการพื้นที่ทางประวัติศาสตร์และทางวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน บ้านหัวนาไทย ตำบลหนองคูขาด อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

เมธี พิริยการนนท์ และนพดล ตั้งสกุล. (2564). ปริทัศน์บทความ: เรื่องพื้นที่สาธารณะพื้นที่ทางวัฒนธรรมและพื้นที่สาธารณะทางวัฒนธรรม. วารสารหน้าจั่ว, 18(1), 134-158.

สุกานดา ถิ่นฐาน และอนุชา แพ่งเกสร. (2565). การส่งต่ออัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมผ่านคุณค่าด้านประสบการณ์การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในพื้นที่สงคราม. วารสารสหวิทยาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 246-257.

สุดาพร อุทธศรี และพงศ์สวัสดิ์ ราชจันทร์. (2564). แนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ กรณีศึกษา บ่อพันขัน ตำบลเด่นราษฎร์ อำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิชาการร้อยแก่นสาร, 6(9), 175-192.

เอกพล วิงวอน และวีระพล น้อยคล้าย. (2565). ประวัติศาสตร์ชุมชนกับการท่องเที่ยว: กรณีศึกษา ชุมชนสามเรือน ตำบลสามเรือน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 10(2), 69-92.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-28

How to Cite

พวงมณี ไ. (2024). พื้นที่ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมบ้านอาฮี ตำบลอาฮีอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย กับแนวทางการจัดการท่องเที่ยวชุมชนสู่ความยั่งยืน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 12(1), 95–120. https://doi.org/10.14456/husoaru.2024.7