มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์: กรณีการเข้าถึงข้อมูลของบุคคลกระทำความผิดเกี่ยวกับธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบออนไลน์

ผู้แต่ง

  • พินิจ ศรีสวัสดิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • พันธรัตน์ ศรีสุวรรณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

DOI:

https://doi.org/10.14456/husoaru.2023.7

คำสำคัญ:

ความผิดทางคอมพิวเตอร์, การเข้าถึงข้อมูล, ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

บทคัดย่อ

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะการใช้สื่อออนไลน์ผ่านทางโทรศัพท์มือถือในการติดต่อสื่อสาร การรับรู้ข่าวสาร รวมถึงการทำธุรกรรมต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์ทำให้ได้รับความสะดวกรวดเร็ว เมื่อผู้เสียหายได้รับความเสียหายจากการกระทำความผิดทางด้านธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบออนไลน์ พบว่า กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยังไม่สามารถบังคับเอาผิดกับผู้กระทำความผิดได้ แม้รัฐจะมีมาตรการในเรื่องของการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยไว้ ดังนั้น รัฐควรปรับปรุงกฎหมายให้มีความทันสมัยและส่งผลให้ทางปฏิบัติเป็นไปด้วยความรวดเร็ว และควรมีการจัดตั้งศาลพิเศษเพื่อพิจารณาคดีที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ

References

ตำรวจไซเบอร์ เผยเหยื่อถูกมิจฉาชีพลวง กดลิงก์โหลดแอปฯปลอมดูดเงินเกลี้ยบัญชี. (2566). สืบค้น 10 มกราคม 2566, จาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/1048618

ทิพาพร นะมาตร์. (2550). สิทธิความเป็นส่วนตัว: ศึกษากรณีสิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัวของบุคคลสาธารณะ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

นคร เสรีรักษ์. (2562). ข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านข้อมูลส่วนบุคคล (Data privacy guideline) ตอนที่ 2. สืบค้น 28 มีนาคม 2565, จาก https://www.fpps.or.th/

นพดล นิ่มหนู. (2565). หลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: ศึกษาเปรียบเทียบ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 กับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 41(3), 46-67.

บรรเจิด สิงคะเนติ, นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์ และเรวดี ขวัญทองยิ้ม. (2554). รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นส่วนตัว. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

บุญญรัตน์ โชคบันดาลชัย. (2561). การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของประเทศอังกฤษ. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 11(2), 131-148.

ปองปรัชญ์ เกศาสุวรรณ, จักรพงศ์ ลิ้มสุวรรณ และสุธิดา ผิวขาว. (2562). ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์: ความรับผิดทางกฎหมายของธนาคารผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 13(1), 33-41.

ปัทมา มัญชุนากร. (2565). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์: ศึกษากรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหลายราย. วารสารรัชต์ภาคย์, 16(47), 89-107.

พรเพชร วิชิตชลชัย. (ม.ป.ป.). คำอธิบายพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พุทธศักราช 2550. สืบค้น 10 มกราคม 2566, จาก https://www.agri.cmu.ac.th/2017files/Download/49080075.pdf

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พุทธศักราช 2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา, 124(ตอน 27ก), 4-18.

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พุทธศักราช 2544. (2544). ราชกิจจานุเบิกษา, 118 (ตอน 112ก), 26-42.

ภาระวี ปุณเสรีพิพัฒน. (2557). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลบนธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์: ศึกษากรณีการใช้คุกกี้บนอินเทอร์เน็ต. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(1), 166-193.

รัฐยันเร่งแก้ปัญหา ‘อาชญากรรมออนไลน์’ อายัดบัญชีม้าแล้ว 5.8 หมื่นบัญชี. (2566). สืบค้น 10 มกราคม 2566, จาก https://workpointtoday.com/policeonline/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-23 — Updated on 2024-03-21

Versions

How to Cite

ศรีสวัสดิ์ พ., & ศรีสุวรรณ พ. (2024). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์: กรณีการเข้าถึงข้อมูลของบุคคลกระทำความผิดเกี่ยวกับธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบออนไลน์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 11(1), 161–186. https://doi.org/10.14456/husoaru.2023.7 (Original work published 23 มิถุนายน 2023)