พุทธวิธีการรักษาผู้ป่วยอาการผิดปกติทางจิตของพระพุทธเจ้า
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยอาการผิดปกติทางจิต, จิต, วิปลาส, นิพพานบทคัดย่อ
ปัจจุบันในสังคมโลกมีผู้คนป่วยอาการผิดปกติทางจิตเพิ่มมากขึ้น ด้วยบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตาม แต่สังคมไทยก็เป็นอีกสังคมหนึ่งที่กำลังเผชิญอยู่กับปัญหาที่มีผู้ป่วยทางจิตเพิ่มขึ้น แม้สังคมไทยเป็นสังคมที่นับถือพุทธศาสนาเป็นส่วนมาก ดังนั้นจึงเกิดความสงสัยว่า พระพุทธเจ้าทรงมีแนวทาง หรือวิธีการช่วยให้ปัญหานี้ลดทอนลงได้หรือไม่
จากการศึกษาพบว่าพระพุทธเจ้าทรงรักษาอาการผิดปกติทางจิตให้นางกีสาโคตมีและนางปฏาจาราจนหาย บทความนี้จึงมุ่งศึกษาวิธีการของพระพุทธเจ้า เพื่อให้เห็นถึงกระบวนการรักษาของพระองค์ แล้วนำมาประยุกต์ใช้กับผู้คนในสังคมไทยปัจจุบัน
References
ทองหล่อ วงษ์ธรรมา, รศ.ดร. (2551). ศาสนาสำคัญของโลก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์
นฤมล มารคแมน, รศ.ดร. (2553). หลักพุทธจิตวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระศรีวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวณฺโณ). (2528). จิตวิทยาในพระอภิธรรม. สภาการศึกษามหามกุฎ ราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกแปลภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเล่มที่ 21, 26, 33. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฎราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล ฉบับมหามกถฎราชวิทยาลัย เล่มที่ 41 และ เล่มที่ 54. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.
ลลิดา พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2547). คำสอนเรื่องวิปลาสในพระพุทธศาสนากับโรคทางจิตและสุขภาพจิต. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุภัทรา วงศกุล. (2555), กรกฎาคม-ธันวาคม). “คนบ้า” ในทัศนะของพุทธศาสนา, วารสารมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, (ฉบับ 13 ปีที่ 8 กรกฎาคม-ธันวาคม), 27.วิทยานิพนธ์
โสรีช์ โพธิแก้ว. (ม.ป.ป.). การสังเคราะห์หลักอริยสัจ 4 สู่กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยา/ จิตรักษาเพื่อการพัฒนา รักษาและเยียวยาชีวิตจิตใจ. คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา