วิถีชีวิตชาวประมงบ้านขุนสมุทรจีน
คำสำคัญ:
วิถีชีวิตชาวประมง, บ้านขุนสมุทรจีน, ตำบลแหลมฟ้าผ่าบทคัดย่อ
ชุมชนบ้านขุนสมุทรจีน มีลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ตรงปากแม่น้ำเจ้าพระยา ลักษณะชุมชนจึงมีวิถีชีวิตผูกพันกับท้องทะเลอ่าวไทย คนในชุมชนส่วนใหญ่ จึงประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง และยังคงมีความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางทะเล มีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายไม่แตกต่างจากอดีตมากนัก ด้วยความที่ชุมชนแห่งนี้เป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์มากว่า 300 ปี ตามหลักฐานที่ค้นพบจากโบราณวัตถุต่างๆ เช่น ถ้วยชามโบราณ เงิน และโครงกระดูก จำนวนมาก แสดงให้เห็นถึงการเป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่ในอดีต จึงทำให้ชุมชนแห่งนี้เป็นแหล่งศึกษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิตการพึ่งพาอาศัยกันและความร่วมมือของคนในชุมชน ได้เป็นอย่างดี
References
ไขศรี เปี่ยมศุภทรัพย์ และคณะ. (2548). การศึกษาความหลากหลายของพืชท้องถิ่น บริเวณชายฝั่งทะเล อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการเพื่อการอนุรักษ์พันธุ์กรรม.กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
คณะกรรมการโครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย. (2542).เครื่องปั้นดินเผา. โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าครุสภา.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2549). การสำรวจเบื้องต้นของระบบนิเวศชายฝั่งทะเลและระบบนิเวศป่าชายเลนบริเวณบ้านขุนสมุทรจีน ตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์. เอกสารสรุปงานวิจัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฏฐภัทร จันทวิช. (2529). เครื่องถ้วยจีนที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร.
ปราโมทย์ โศจิศุภร, ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล และบุศราศิริ ธนะ.(2555). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการ “การประเมินประสิทธิผลของการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งด้วยโครงสร้างและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงพื้นท้องทะเลและแนวชายฝั่งในพื้นที่นำร่อง บ้านขุนสมุทรจีน บริเวณอ่าวไทยตอนบน”. 295 หน้า
ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล และคณะ. (2552). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาบูรณาการเชิงพื้นที่เพื่อการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล จังหวัดสมุทรปราการ: กรณีศึกษานำร่องเพื่อการออกแบบ ณ บ้านขุนสมุทรจีน ต.แหลมฟ้าผ่าอ.พระสมุทรเจดีย์. 813 หน้า.
สกินเนอร์จี.วิลเลียม. (2548). สังคมจีนในไทย. มูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา