เรือนร่างกวีนิพนธ์การเมือง 4 เหตุการณ์
คำสำคัญ:
กวีนิพนธ์การเมือง, รูปแบบกวีนิพนธ์การเมือง, เหตุการณ์ทางการเมืองบทคัดย่อ
กวีนิพนธ์การเมืองเป็นงานเขียนที่กวีสร้างขึ้นเพื่อแสดงความคิดเห็นทางการเมือง โดยมีบทบาทเป็น “สื่อ” ตลอดจนเป็น “เครื่องมือ” ในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง มี “รูปแบบ” การสร้างสรรค์ทั้งในด้านการใช้ ฉันทลักษณ์ การใช้คำ และการใช้โวหาร เป็นของเฉพาะในแต่ละเหตุการณ์ทางการเมือง ซึ่งเหตุการณ์ทางการเมืองนี้ ได้แก่ 14 ตุลาคม 2516, 6 ตุลาคม 2519, พฤษภาคม 2535 และ 19 กันยายน 2549 กับพฤษภาคม 2553
References
ธงชัย แซ่เจี่ย. (2555). แนวคิดประชาธิปไตยในกวีนิพนธ์การเมืองรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ. 2546-2553. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นพพร ประชากุล และชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์. ทฤษฎีวรรณกรรม. วารสารร่มพฤกษ์ 15, 2 (ต.ค. 2539-ม.ค. 2540) 27-43.
ไพลิน รุ้งรัตน์. (2550). กวีนิพนธ์บนถนนประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย กองทุนศรีบูรพา และสโมสรสยามวรรณศิลป์.
ภิญโญ กองทอง. ผู้ร้ายการเมือง : ความเปลี่ยนแปลงที่ปรากฏในบทกวีการเมือง. ศิลปวัฒนธรรม 23, 12 (ต.ค. 2545) 105-118.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2541). ๒๕ ปี ๑๔ ตุลา มองผ่านวรรณกรรมเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการโครงการ 25 ปี 14 ตุลา.
สายทิพย์ นุกูลกิจ. (2539). วรรณกรรมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : บริษัทเอส.อาร์.พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จำกัด.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา