ความสำคัญของวัดร้างในปัจจุบันต่อการพระศาสนาในสมัยอยุธยา

ผู้แต่ง

  • วิราวรรณ สมพงษ์เจริญ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

วัดร้าง, การพระศาสนาในสมัยอยุธยา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาของวัดร้างรอบเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา พบว่าวัดร้างในปัจจุบันมีประวัติและความสำคัญเกี่ยวข้องกับการพระศาสนาในสมัยอยุธยา  ทำให้เราเชื่อมโยงข้อมูลและเรื่องราวต่าง ๆ นำไปสู่ความรู้และความเข้าใจถึงความสำคัญของวัดร้างเหล่านี้ซึ่งยังคงหลงเหลือร่องรอยมาถึงปัจจุบัน

References

กฎหมายตรา 3 ดวง เล่ม 1 ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่. (2548). กรุงเทพ : สุขภาพใจ.

เกรียงไกร เกิดศิริ. “พระมหาธาตุหลักกรุงศรีอยุธยา ที่มา ความหมาย และความยอกย้อนของประวัติศาสตร์ว่าด้วยการสถาปนา” ใน เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการวัดมหาธาตุ มรดกสถาปัตยกรรมความทรงจำพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 19-20 มีนาคม 2558 ณ ห้องประชุม 317 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

โบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์). (2550). อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยากับคำวินิจฉัยของพระยาโบราณราชธานินทร์ ฉบับชำระครั้งที่ 2 และภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา. นนทบุรี : สำนักพิมพ์ต้นฉบับ.

วรรณศิริ เดชะคุปต์ และคนอื่น ๆ. (2555). เจ้าคุณกรุง : สมุดภาพพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์). กรุงเทพ : โชคชัยการพิมพ์ แอนด์ กราฟฟิค.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2551). พรรณนาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยา เอกสารจากหอหลวงฉบับความสมบูรณ์. กรุงเทพ : อุษาคเนย์.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2551). พรรณนาภูมิสถานและมรดกความทรงจำแห่งพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพ : อุษาคเนย์.

วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2556). 230 ปี ศรีรัตนโกสินทร์ มรดกความทรงจำกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพ: โครงการวิจัย 100 เอกสารสำคัญเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย.

ศิริศักดิ์ คุ้มรักษา. (2547). วัดและวังอยุธยา พระราชวังโบราณ วัดพระศรีสรรเพชญ วิหารมงคลบพิตร พระราชวังจันทรเกษม วัดไชยวัฒนาราม วัดราษฎร์บูรณะ วัดหน้าพระเมรุ วัดพนัญเชิง เพนียดคล้องช้าง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แปลนรีดเดอร์ส.

ศิลปากร, กรม. (2556). รวมบันทึกประวัติศาสตร์อยุธยาของฟาน ฟลีท (วัน วลิต). กรุงเทพ: หจก. โชติวงศ์ ปริ้นติ้ง.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-27