แรงงานข้ามชาติในตลาดแรงงานไร้พรมแดน
คำสำคัญ:
แรงงานข้ามชาติ, มนุษย์ล่องหน, ความต้องการแรงงานสูงบทคัดย่อ
แม้แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยจะมีการเข้ามาอย่างยาวนาน แต่การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของแรงงานไทยได้กลายเป็นปัจจัยหลักอันหนึ่งของการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติในช่วง หลายสิบปีที่ผ่านมา เพื่อทดแทนการขาดแคลนของแรงงานในระดับล่าง ภายในกลุ่มแรงงานข้ามชาติก็มีการแตกตัวเป็นกลุ่มต่าง ๆ และมีการใช้ชีวิต (Life Style) การทำงานและการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ที่แตกต่างกันไปด้วยตามบริบทของการเข้ามา ในกลุ่มแรงงานข้ามชาติรุ่นใหม่นั้น แม้จะอยู่ภายใต้ข้อจำกัดของกฎหมายต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสภาพการทำงานและชีวิตความเป็นอยู่ แต่แรงงานข้ามชาติก็มีการปรับตัวที่หลากหลาย มีความยืดหยุ่น เลื่อนไหลในการใช้ชีวิตและการทำงานเพื่อให้สอดรับกับความต้องการทั้งรายได้และความมั่นคงในชีวิต
References
นิพนธ์ พัวพงศกรและปัทมาวดี ซูซูกิ. (2535). การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานสู่ภาวะขาดแคลนแรงงาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
ปัทมาว่าพัฒนวงศ์ ปราโมทย์ ประสาทกุล และสุรีย์พร พันพึ่ง. (2556). การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบเชิงนโยบายต่อการพัฒนาประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2553-2583.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ผาสุก พงษ์ไพจิตรและคริสเบเคอร์. (2546). เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่ : สุริวงค์บุ๊ค.
พวงเพชร์ธนสิน. (2554). โครงการ “ทายาทรุ่นที่ 2 ของผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า: สถานการณ์และการอพยพโยกย้าย”. กรุงเทพฯ : กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และคณะ. (2539). การศึกษาเชิงนโยบายในการจัดการคนงานต่างชาติที่ลักลอบเข้ามาทำงานในประเทศไทย : กรณีศึกษา 4 จังหวัด. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
วรวิทย์ เจริญเลิศ และนภาพร อติวานิชยพงศ์. (2546). การพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส : กลุ่มแรงงานในภาคอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิทย์ เจริญเลิศ และบัณฑิต ธนชัยเศรษฐวุฒิ. (2540). นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมของรัฐกับการจ้างแรงงานข้ามชาติ. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2553ก). การสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : สำนักสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). ประมวลสถิติสําคัญของประเทศไทย พ.ศ.2555. กรุงเทพฯ : สํานักสถิติพยากรณ์ สํานักงานสถิติแห่งชาติ.
อดิศร เกิดมงคล (บก.). (2546). บันทึกแรงงานพม่า: จากแรงงานทาสสู่แรงงานเถื่อน. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยในพม่า (กรพ.).
Agamben, Giorgio. (1998). HomoSacer: Sovereign Power and Bare Life. Stanford : Stanford University Press.
Amporn Jirattikorn. (2007). Living on both sides of the borders: Transnational migrants, pop music and nation of the Shan in Thailand. Working paper series No. 7, Regional Center for Social Science and Sustainable Development, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University.
Amporn Jirattikorn. (2012). “Brokers of nostalgia: Shan migrant public spheres in Chiang Mai, Thailand”, in Caroline Pluss and Chan Kwok-bun (eds.). Living Intersections: Transnational Migrant Identifications in Asia (pp. 213-234). New York: Springer.
Appadurai, Arjun. (2000). Modernity at Large: Cultural Dimensions of Globalization. Minnesota: Minnesota University Press.
Arnold, Dennis. (2004). “The Situation of Burmese Migrant Workers in Mae Sot, Thailand”. Working Paper Series No. 71. Southeast Asia Research Center, City University of Hong Kong, Hong Kong.
Arnold, Dennis and Kevin Hewison. (2005). “Exploitation in global supply chain: Burmese migrant workers in Mae Sot, Thailand”, Journal of Contemporary Asia. 35(3): 319-340.
Battistella, Gragiano. (2002). “Unauthorized migrants as global workers in the Asean region”, Southeast Asian Studies. 40(3): 350-371.
Chin, Christine B.N. (2003). “Visible bodies, invisible work: state practices toward migrant women domestic workers in Malaysia”, Asian and Pacific Migration Journal. 12(1-2): 49-73.
Ong, Aihwa. (1999). Flexible Citizenship: The Cultural Logic of Transnationality. Durham: Duke University Press.
PattanaKittiarsa. (2014). The "Bare Life" of Thai Migrant Workmen in Singapore. Seattle: University of Washington Press.
Pearson, Elaine et. Al. (2006). The Mekong Challenge: Unpaid, Overworked and Overlooked: The Reality of Young Migrant Workers in Thailand (Vol. 1). Bangkok: International Labor Organization
Polanyi, Karl. (1944). The Great Transformation: The Political and Economic Origins of Our Time. (1957) Boston: Beacon Press.
Harvey, David. (2005). A Brief History of Neoliberalism. Oxford: Oxford University Press.
Kusakabe, Kyoko and Ruth Pearson. (2010). “Transborder migration, social reproduction and economic development: a case study of Burmese workers in Thailand”, International Migration. 48(6): 13-43.
KusolSoonthondhada. (2001). “Changes in the labor market and international migration since the economic crisis in Thailand”, Asian and Pacific Migration Journal. 10(3-4): 401-428.
Lubeigt, Guy. (2007). “Industrial zones in Burma and Burmese labour in Thailand”, in Myanmar: The State, Community and the Environment (pp. 159-188). Canberra: ANU E Press and Asia Pacific Press.
Rigg, Jonathan. (2012).Unplanned Development(s): Tracking Change in South-East Asia. London: Zed Books.
Sureeporn Punpuing, Therese Caouette, Awatsaya Panam and Khaing Mau KyawZan. (2005). “Migrant domestic workers: from Burma to Thailand,” Unpublished paper presented at the annual meeting of the Population Association of America, Philadelphia, Pennsylvania.
WatchareeSrikham. (2012). “Transnational labor in the greater Mekong sub-region: Vietnamese migrant workers in Thailand and the Lao PDR”, International Journal of Humanities and Social Science 2(24): 294-298.
กรมการจัดหางานสำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2553). การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวในประเทศไทยสรุปปี 2553. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2555. จาก http://wp.doe.go.th/sites/default/files/statistic/8/sy2553.pdf
กรมจัดหางาน สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2555. จาก http://wp.doe.go.th/sites/default/files/statistic/8/sy2552.pdf
คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ. (2554). กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข.
จามะรี เชียงทอง และคณะ. (2554). ชนบทไทย: เกษตรกรระดับกลางและแรงงานไร้ที่ดิน. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ทวีศักดิ์ ใจคำสืบ. (2550). โครงสร้างแรงงานของภาคเหนือ. รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินภาคเหนือเดือนมิถุนายน 2550. ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคเหนือ. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2555 จาก http://www.bot.or.th/Thai/EconomicConditions/Thai/North/ArticleAndResearch/DocLib_Article/2550_06@StructureLabor.pdf
ไทยรัฐออนไลน์. (2555). เผยสถิติคนไทยตกงานลดลง ปริญญาตรีเตะฝุ่นมากสุด. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2555. จาก http://m.thairath.co.th/content/edu/295326
พันธุ์ทิพย์ กาญจนจิตรา สายสุนทร. (2556). 7 ทวิ วรรค 3 ใหม่-มนุษย์นิยมเพื่อกำหนดฐานะ+เงื่อนไขการอยู่ของคนต่างด้าวที่เกิดในไทย. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2555. จาก https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=282313468480968&id=281822748530040#!/notes/.
พิมพ์ชนก บุลยเลิศ. (2551). แรงงานต่างด้าวในภาคธุรกิจก่อสร้างในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด และคณะ. (2555). โครงการสำรวจและการศึกษาระดับพื้นที่เกี่ยวกับข้อจำกัดของการบริหารจัดการที่ดีของ อปท. เชียงใหม่: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ.
ภาคการเกษตรไทย. (มปป.). สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2555 จาก ttp://www.ilo.org/public/english/region/asro/bangkok/child/trafficking/downloads/vol2-agriculture-thai.pdf
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2553ข). สรุปผลการสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร (เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553). สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2555. จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/lfs53/reportDec.pdf
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2554).สรุปผลการสำรวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. 2554. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2555. จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/theme_2-2-4.html
SIU. คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท มีผล 1 มกราคม 2556. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2555. จาก http://www.siamintelligence.com/300-bath-minimum-wage-for- employees-enforce-1-january-2013/?utm_source=dlvr.it&utm_medium=facebook
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา