ท้าวแบ๊ ฉบับวัดท่ากกแก จังหวัดเพชรบูรณ์ : การศึกษาในฐานะวรรณกรรมคำสอน
คำสำคัญ:
ท้าวแบ๊, วรรณกรรมคำสอน, ไทหล่มบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องท้าวแบ๊ ฉบับวัดท่ากกแก ตำบล ตาลเดี่ยว อ าเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ จารด้วยตัวอักษรไทยน้อย จำนวน 1 ผูก 95 ใบลาน 188 หน้าลาน มีเนื้อหาสมบูรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาระคำสอนที่ ปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องท้าวแบ๊ ผลการศึกษาพบว่าวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่อง ท้าวแบ๊มีสาระคำสอน 2 ประเภท คือ 1) คำสอนคติทางโลก ได้แก่ สอนให้รู้จักบทบาท หน้าที่ของกษัตริย์ กษัตรี นางกำนัล ประชาชน และพระสงฆ์ สอนให้กระทำความดี สอนให้อ่อนน้อมถ่อมตน สอนเรื่องความรักของมารดา สอนให้ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี สอนให้กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ และสอนการครองเรือน 2) คำสอนคติทางธรรม ได้แก่ สอนเรื่องกฎแห่งกรรม สอนเรื่องศีลห้า สอนเรื่องกุศลมูล สอนเรื่องทศพิธราชธรรม และสอนเรื่องอภัยทาน
References
นิยะดา เหล่าสุนทร. (2538). ปัญญาสชาดก : ประวัติและความส าคัญที่มีต่อวรรณกรรม ร้อยกรองของไทย. กรุงเทพฯ : แม่คำผาง.
ประคอง นิมมานเหมินท์. (2551). นิทานพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ประมวล พิมพ์เสน. (2545). ภาษาและวรรณกรรมท้องถิ่นอีสาน. ขอนแก่น : พระธรรมขันต์.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2541). สตรีในคัมภีร์ตะวันออก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ปรียา หิรัญประดิษฐ์ และสมเกียรติ วัฒนาพงษา. (2559). เอกสารการสอนชุดวิชา วรรณคดีไทย หน่วยที่ 10 วรรณกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1-53. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วสันต์ รัตนโภคา. (2560). เอกสารการสอนชุดวิชาวรรณคดีไทย หน่วยที่ 1 ความรู้ เกี่ยวกับวรรณคดีไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1-50. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์. (2516). ทศพิธราชธรรมและหลัก พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สาคร สมเสร็จ. (2562). เอกสารการสอนชุดวิชาโลกทัศน์ไทย หน่วยที่ 2 โลกทัศน์ไทย ในมิติทางสังคม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1-60. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มยุรี ปาละอินทร์. (2543). คองสิบสี่ในวิถีชีวิตของชาวไทพวนตำบลบ้านผือ อำเภอ บ้านผือ จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา, คณะมนุษยศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน. (2545). แบบเรื่องนิทานสังข์ทอง : ความแพร่หลายและการแตกเรื่อง. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุวรรณฐา ลึม. (2560). แนวทางส่งเสริมกตัญญูกตเวทีในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อุไรวรรณ สุพรรณและคณะ. (2536). การปริวรรตวรรณกรรมนิทานเรื่อง “ท้าวแบ๊” อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี. ทุนอุดหนุนการวิจัย สำนักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
สมพิศ สายบุญชื่น และสดุดี คำมี. (2559). การศึกษาคำศัพท์ภาษาไทหล่ม กรณีศึกษา อำเภอหล่มสัก อำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์. ทุนอุดหนุนโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ประจำปี 2559.
สุกัญญา ภัทราชัย. (2537). การปรับเปลี่ยนความเชื่อดั้งเดิมให้เป็นพุทธ : การศึกษาจากวรรณคดีล้านช้าง. ภาษาและวรรณคดีไทย, 11, (76-88).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา