แนวทางการจัดกิจกรรมดนตรีบำบัดสำหรับเด็กพิเศษ ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ดนตรีเด็ก

ผู้แต่ง

  • รวมศักดิ์ เจียมศักดิ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

ดนตรีบำบัด, การจัดการเรียนรู้ดนตรีเด็ก, เด็กพิเศษ

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันการพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษมีวิธีการที่หลากหลาย หนึ่งในนั้นคือ การใช้กิจกรรมดนตรีบำบัด บทความวิชาการนี้จึงมีจุดประสงค์ในการแนะนำแนวทางการ จัดกิจกรรมดนตรีบำบัดสำหรับเด็กพิเศษโดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ดนตรีเด็กที่ ได้รับความนิยมแพร่หลายในระดับโลกอย่างวิธีการของ 3 นักดนตรีศึกษา ได้แก่ 1) เอมีล ฌาคส์ ดาลโครซ 2) โซลทาน โคดาย 3) คาร์ล ออร์ฟ ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ดนตรีสำหรับเด็กที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระตุ้นการมีส่วนร่วมและการลงมือทำจริง ผ่าน การปฏิบัติกิจกรรมที่สนุกสนานตามวัย ทั้งนี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ให้เด็กพิเศษมีพัฒนาการ ทางด้านดนตรีเป็นหลัก หากแต่คาดหวังการพัฒนาในด้านอื่น ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้าน จิตใจและอารมณ์ ด้านทักษะทางสังคม ด้านการเรียนรู้และทักษะในการสื่อสาร

References

กลุ่มดนตรีบำบัดภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟูคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2554 . แนวทางการใช้ดนตรีบําบัดสำหรับผู้ป่วยและผู้พิการทางกาย พ.ศ. 2554. ม.ป.พ.

จิรวัฒน์ ตนุสิทธิ์ธนกุล. (2552). ผลของการจัดกิจกรรมเสริมทักษะดนตรีรายบุคคลที่มี ต่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก: กรณีศึกษาเด็กออทิสติก ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการจัดการศึกษาพิเศษแบบเรียนรวมสำหรับเด็กออทิสติก โรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เจิดนภา หัตถกิจโกศล. (2542). ดนตรีบำบัดสำหรับเด็กออทิสติก. วารสารการ ศึกษาศาสตร์, 1(1), 12-14. ทรงฤทธิ์ ศรีสารคาม. (2559). ดนตรีบำบัด.นนทบุรี: สัมปชัญญะ.

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2550). การบำบัดทางเลือกในเด็กพิเศษ. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2540).กิจกรรมดนตรีสำหรับครกรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2541). จิตวิทยาการสอนดนตรี. พิมพ์ครั้งที่10. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2561). ดนตรีศึกษา: หลักการและสาระสำคัญ. พิมพ์ครั้งที่10. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนาภรณ์ ธนิย์ธีรพันธ์. (2547). การพัฒนาสัมพันธภาพของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบเพลง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2542).การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวของคาร์ล ออร์ฟ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2542).การสอนดนตรีสำหรับเด็กตามแนวของโคได.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2543). การสอนดนตรีสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2547). เพลงแบบโคดาย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2548). เพลงแบบออร์ฟ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นงนุช เพชรบุญวัฒน์. (2555). ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ธันยมัย ปุรินัย.(2556). การพัฒนาแนวปฏิบัติการใช้ดนตรีบำบัดเพื่อส่งเสริมความสุข สบาย ในผู้ป่วยขณะสลายนิ่วในโรงพยาบาลศรีสะเกษ 2556. 31(4), 144-151.

นัทธี เชียงชะนา. (2561). บทบาทของดนตรีบำบัดในการศึกษาพิเศษ. วารสาร ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2561, 46(4), 228-243.

นัทธี เชียงชะนา และสมชัย ตระการรุ่งนภา. (2558). วิธีการบำบัดทางดนตรี: การ วิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัย. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2558; 45(2): 116-133.

บุษกร บิณฑสันต์. (2556). ดนตรีบำบัด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

เบญจา ชลธารนนท์. (2538). รวมบทความวิชาการทางการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก.

ภุชค์ ฉิมพิบูล และพรพรรณ แก่นอำพรพันธ์. (2560). ดนตรีบำบัดสำหรับผู้ป่วยระยะ สุดท้าย. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2560. 15(3), 317-378.

รัตนา เพิ่มเพ็ชร์ และเบญจมาภรณ์ บุตรศรีภูมิ. (2559). ผลของดนตรีบำบัดต่อระดับ ความวิตกกังวลของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดคลอด. วารสารพยาบาลทหารบก 2559, 17(3), 34-43

รุจิพัชญ์ อภิพัฒน์กิตติกุล.(2556). ผลของกิจกรรมดนตรีที่มีต่อทักษะทางสังคมของเด็ก ออทิสติกระดับปฐมวัย. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาปฐมวัยศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรกต สุวรรณสถิต, วิสาข์สิริ ตันตระกลู, เจนจิรา เพ็งแจ่ม และนภารัตน์ อมรพฒิสถาพร. (2018). การศึกษาผลของการใช้เสียงดนตรีบำบัดต่อการนอนหลับ ระดับ ความเครียด และความวิตกกังวลในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจการนอนหลับ ตลอดคืน : การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม. วารสารรามาธิบดีเวชสาร, 41(3), 82-91.

วรานิษฐ์ พิชิตยศวัฒน์ .(2555). ประสิทธิผลของกิจกรรมดนตรีบำบัดต่อพัฒนาการทาง สื่อความหมายและปฏิสัมพันธ์ของนักเรียนออทิสติก. วิทยานิพนธ์ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

วิชุนันท์ เชื้อเจริญ. (2555). ผลการใช้ดนตรีแบบอิสระต่อพฤติกรรมไม่อยู่นิ่งของเด็ก ออทิสติก. ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน การศึกษาพิเศษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิจารณ์ พานิช และวิมลศรี ศุษิลวรณ์.(2560). ศาสตร์และศิลป์ของการสอน. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. ศรียา นิยมธรรม.(2555). ศาสตร์แห่งการบำบัดทางเลือกนครปฐม .: บริษัท ไอ คิว.บุ๊ค. เซ็นเตอร์ จำกัด.

สถิตธรรม เพ็ญสุข.(2555) .อัจฉริยะอย่างไอน์สไตน์ด้วยเสียงดนตรี : กรุงเทพฯ . ปัญญาชน.

สราวลี สุนทรวิจิตร.(2560). ดนตรีบำบัด: การบำบัดทางเลือกสำหรับบุคคลที่มีภาวะ ซึมเศร้า. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ 2560, 12 (36), 1-12.

สาวิตรี รุญเจริญ. (2549). เด็กพิเศษ กับความพิเศษของชีวิต”. วารสารศูนย์บริการ วิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2549. 14 (4), 13-19.

สิชฌน์เศก ย่านเดิม.วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 19, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), หน้า 21-31.แนวคิดทฤษฎีการสอนดนตรี

สุกรี เจริญสุข. (2555).ศักยภาพความเป็นเลิศทางดนตรี: ดนตรีกับเด็ก. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

สุกรี เจริญสุข. (2557). คู่มือครูดนตรี: ปลูกดอกไม้ในใจ. กรุงเทพฯ: หยิน หยาง การพิมพ์.

สุรีย์ ดาวอุดม. (2552). การพัฒนากิจกรรมดนตรีบำบัดแบบผสมผสานเพื่อพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

อุบล จ๋วงพานิช,จุรีพร อุ่นบุญเรือน,จันทราพร ลุนลุด,ทิพวรรณ ขรรศร และภัทรวุฒิ วัฒนศัพท์. (2012). ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดใน ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2555, 30 (1).

Adler, R. F. (2006). Goals and treatment objectives, settings, and service delivery models for the school age years. In M. E. Humpal & C. Colwell (Eds.), Effective clinical practice in music therapy: Early childhood and school age educational settings. Silver Spring, MD: American MusicTherapy Association.

Choksy, Lois. (1981). The Kodály context. NJ: Prentice-Hall Inc.

Edith Hillman Boxill. (1985). Music Therapy for the Developmentally Disabled.Texas : Pro-ed.

Natee Chiengchana and Somchai Trakarnrung. (2014). The effect of Kodálybased music experiences on joint attention in children with autism spectrum disorders. Asian Biomedicine journal, 8(4), 547-555.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-26

How to Cite

เจียมศักดิ์ ร. (2022). แนวทางการจัดกิจกรรมดนตรีบำบัดสำหรับเด็กพิเศษ ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ดนตรีเด็ก. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 8(1), 85–112. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/258763