การสร้างความเป็นปึกแผ่นของประชาธิปไตย ในญี่ปุ่น ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1993 ถึงปัจจุบัน

ผู้แต่ง

  • ธานี สุขเกษม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์

คำสำคัญ:

ประชาธิปไตย, การสร้างความเป็นปึกแผ่นของประชาธิปไตย, ญี่ปุ่น

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษากระบวนการสร้าง ความเป็นปึกแผ่นของประชาธิปไตยในญี่ปุ่น (2) เพื่อศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่ส่งเสริมความ เป็นปึกแผ่นของประชาธิปไตยในญี่ปุ่น การศึกษาเรื่องนี้เป็นการศึกษาเชิงเอกสาร โดย ใช้แนวคิดเรื่องการสร้างความเป็นปึกแผ่นของประชาธิปไตยของแลร์รี่ ไดมอน จวน ลินซ์ และ อัลเฟรด สเตพาน เป็นกรอบแนวคิดหลัก เมื่อใช้แนวคิดดังกล่าววิเคราะห์ สภาพการเมืองของญี่ปุ่นพบว่า มีปัจจัยที่ส่งเสริมการสร้างความเป็นปึกแผ่นของ ประชาธิปไตยในญี่ปุ่น 4 ประการ คือ (1) ความสามารถของระบบการเมือง (2) การสร้างความเป็นสถาบันทางการเมือง (3) การสร้างความเข้มแข็งให้กับการตรวจสอบ แนวนอนและหลักนิติรัฐ และ (4) บทบาทภาคประชาสังคมและการสร้างวัฒนธรรมทาง การเมืองแบบประชาธิปไตยให้มั่นคง ซึ่งพบว่า แนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยของ ญี่ปุ่นมีความสอดคล้องกับแนวคิดของไดมอนด์ ลินซ์และสเตฟาน

References

กนิษฐา ภู่ทอง. (2536). ฮาร่า เคอิ : การพัฒนาประชาธิปไตยในญี่ปุ่นก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ป.นิวัติ.

กฤษฎา บุญชัย. (2540). “พัฒนาการประชาสังคม :มองผ่านการเติบโตขององค์กรพัฒนา เอกชนญี่ปุ่นและไทย” วารสารญี่ปุ่นศึกษา. 14(2) : 60-70.

เคอร์ติส, เจอรัลด์ แอล. (2539). การเมืองแบบญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

ชัยวัฒน์ ม่านศรีสุข. (2545). การปฏิรูปการเมืองและการเปลี่ยนแปลงของระบบพรรค การเมืองในญี่ปุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชัยวัฒน์ ม่านศรีสุข.(2552). “กระบวนการปฏิรูปการเมืองญี่ปุ่นช่วงต้นทศวรรษ 1990 : การทำ ความเข้าใจผ่านตัวแบบ Multiple Streams (MS Model)” ใน รวมบทความ 27 ปี รัฐศาสตร์ มสธ. ธีรภัทธ์ เสรีรังสรรค์(บรรณาธิการ). หน้า 179 – 196. กรุงเทพฯ : พิมพ์อักษร.

ไชยวัฒน์ ค้ำชู. (2543). “แนวโน้มของนโยบายความมั่นคงและป้องกันประเทศญี่ปุ่น” เอเชียปริทัศน์. 5(1)มกราคม – มีนาคม : 1 – 57.

ไชยวัฒน์ ค้ำชู. (2543). “ระบบเศรษฐกิจการเมืองญี่ปุ่นยุคหลังเศรษฐกิจฟองสบู่แตก : ความ ต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลง” วารสารสังคมศาสตร์. 31 (มกราคม-มิถุนายน) : 47 – 86.

ไชยวัฒน์ ค้ำชู. (2549). นโยบายต่างประเทศญี่ปุ่น : ความต่อเนื่องและความเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไชยวัฒน์ ค้ำชู และ นิธิ เนื่องจำนงค์. (2559). การเมืองเปรียบเทียบ : ทฤษฏี แนวคิด และ กรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บัณฑิต โรจน์อารยนนท์. (2558). “โมโนซุคุริกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ญี่ปุ่น” วารสาร TPA News. 19 (226) ตุลาคม : 224 – 226.

เบญจางค์ ใจใส แคร์ อาร์สลานิออง. (2556). “การเปลี่ยนแปลงในความสัมพันธ์ระหว่าง ภาครัฐและภาคประชาชนในประเทศญี่ปุ่น : จากความขัดแย้งไปสู่การทำงาน ร่วมกัน ” วารสารมนุษยศาสตร์สาร. 14 (2) กรกฏาคม – ธันวาคม : 91 – 115.

ประเสริฐ จิตติวัฒนพงศ์. (2538). ญี่ปุ่นปฏิรูปการเมือง. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

ประเสริฐ จิตติวัฒนพงศ์. (2539). “ประชาธิปไตยในญี่ปุ่น : อุดมการณ์และวิถีปฏิบัติ” ใน ประชาธิปไตย : อุดมการณ์ หลักการและแบบอย่างการปกครองหลายประเทศ. อมร รักษาสัตย์ และคนอื่น ๆ (บรรณาธิการ). หน้า 397 – 449. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประเสริฐ จิตติวัฒนพงศ์. (2542). “ปัญหาประชาธิปไตยแบบญี่ปุ่น : ระบบพรรคเด่นพรรคเดียว” ใน รวมบทความทางวิชาการของ รศ. ประเสริฐ จิตติวัฒนพงศ์ เรื่อง ญี่ปุ่น : การเมืองและนโยบายต่างประเทศ. ศิริพร วัชชวัลคุ (บรรณาธิการ). หน้า 76 – 93. กรุงเทพฯ : ธาราฉัตรการพิมพ์.

ภูริ ฟูวงศ์เจริญ. (2558). “ต้นกำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับหลังสงครามในประเทศญี่ปุ่น : บทวิพากษ์วาทกรรม รัฐธรรมนูญที่ถูกยัดเยียด” วารสารญี่ปุ่นศึกษา. 32(1) พฤษภาคม – กันยายน : 1 – 14.

ศิริพร ดาบเพชร. (2557). “Anpo Protests : พัฒนาการของการเคลื่อนไหวทาง การเมืองในญี่ปุ่นยุคหลังสงคราม” วารสารสังคมศาสตร์ มศว. 17 (มกราคม- ธันวาคม) : 328-338.

ศิริพร ดาบเพชร. (2560). “ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของญี่ปุ่นตั้งแต่หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 ถึงปัจจุบัน ” รวมบทความวิจัยการประชุมทางวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7 วันที่ 30 มิถุนายน 2560 ณ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. หน้า 250 – 262.

ศิริพร วัชชวัลคุ. (2549). ญี่ปุ่น : ประเทศที่กำลังเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : บพิธการ พิมพ์.

ศิริพร วัชชวัลคุ. (2549). สถาบันการเมืองในประเทศเอเชียนบวกสาม : ประเทศญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรรถจักร สัตยานุรักษ์. (2555). Japanization. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊คส์. โอกาซากิ, ฮิซาฮิโกะ. (2535). มหายุทธศาสตร์สำหรับป้องกันประเทศของญี่ปุ่น. ไชยวัฒน์ ค้ำชูและกมล เพ็ญศรีนุกูร (แปล). กรุงเทพฯ : ศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Berger, T.U. ( 2007) . “The Pragmatic Liberalism of An Adaptive State” in Japan in International Politics : The Foreign Policies of An Adaptive State. T.U. Berger (eas.). Colorado : Lynne Rienner Pubblishers.

Diamond, Larry. (1999). Developing Democracy : Toward Consolidation. Baltimore : John Hopkins University Press.

Haddad, Mary Alice. ( 2012) . Building Democracy in Japan. New york : Combrid university Press.

Hayes, L.D. (2001). Introduction to Japanese Politics. Armonk : M.E. Sharpe.

Hirata, Keiko. ( 2004) . “Civil Society and Japan Dysfunctional Demoeracy” Journal of Developing society. 20(1-2) : 107 – 124.

Huntington, Samuel P. ( 1991) . The Third Wave : Democratization in the Late Twentieth Century. Oklahoma : Oklahoma University Press.Imada,

Makoto. (2010). “Civil Society in Japan : Democrecy, Voluntary Action and Philantrophy” in Civil Engagement in Contemporary Japan : Established and Emerging Repertoires. H. Vinken et al ( eds.) . Retrieved September 21, 2018, from http://www.springer.com/978-1-4419-1503-0

Inoguchi, Takashi and Jain, Purnendra. ( 2011) . Japanese Politics Today : From Karaoke to Kabuki Democracy. New York : Palgrave Macmillan.

Lee, Sang Mook. ( 2007) . “Democratic Transition and Consolidation of Democracy in South Korca” Taiwan Journal of Democracy. 3(1) : 99 – 125.

Linz, Juan and Stepan, Alfred. (1996). “Toward Consolidated Democracies” Journal of Democracy. 7(2) : 14 – 33.

Mc Cargo, Duncan. ( 2013) . Contemporary Japan. London : Palgrave Macmillan.

Neary, Ian. ( 2002) . The State and Politics in Japan. Combridge : Palgrave Macmillan. O’Donnel, Guillermo. (1996) . “Illusions About Consolidation” Journal of Democracy. 9(2)

Pempel, T.J. ( 1992) . “Japanese Democracy and Political Culture : A Comparative Perpeetive” PS : Political Science and Politics. 25(1) March : 5 – 12.

Schedler, Andreas. (1998). “What is Democratie Consolidation” Journal Of Democracy. 9(2) : 91 – 107.

Schedler, Andreas. (2001). “Measuring Democrative Consolidation” Studies in Comparative International Development. 36(1) Spring : 66 – 92.

Shin, Doh Chull. (1994). “On the Third wave of Democratization : A Synthesis and Evaluation of Recent Theory and Recearch” World Politics. 47(1) October : 135 – 170.

Stocwin, J.A.A. ( 2008) . Governing Japan : Divided Politics in A Resurgent Economy. Malden : Blackwell Publishing.

Suruya ,Hiroe. (2012). Protest and Democracy in Japan : The Development of Movement Fields and the Anpo Protests. A Dissertration Submitted to the University of Michigan.

Takayoshi, Matsuo. ( 1976) . “The Development of Democracy in Japan” The Developing Economics. 4(4) December : 612 – 632.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-26

How to Cite

สุขเกษม ธ. (2022). การสร้างความเป็นปึกแผ่นของประชาธิปไตย ในญี่ปุ่น ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1993 ถึงปัจจุบัน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 8(1), 57–84. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/258762