การกำหนดสัดส่วนความรับผิดอันเกิดจาก การกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่

ผู้แต่ง

  • สายฝน โชชัย กองละเมิดและแพ่ง กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเกณฑ์การกำหนดความรับผิดอันเกิดจาก การทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ พ.ศ 2539 จากการศึกษาพบว่าบทบัญญัติของมาตราดังกล่าวมิได้กำหนด เกณฑ์สัดส่วนความรับผิดของเจ้าหน้าที่ไว้ให้ชัดเจน ทำให้แต่ละหน่วยงานที่มีหน้าที่ บังคับใช้กฎหมายอาจใช้ดุลพินิจที่แตกต่างกันก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่ และเกิดความเสียต่อทางราชการในการเสียโอกาสที่จะได้รับชำระหนี้อย่างเหมาะสม ดังนั้น บทความนี้ต้องการนำเสนอหลักเกณฑ์การกำหนดสัดส่วนความรับผิดข อง เจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน

References

สุริยา ปานแป้น และอนุวัฒน์ บุญนันท์ (2556) คู่มือสอบกฎหมายปกครอง (พิมพ์ครั้งที่ 5) กรุงเทพฯ : วิญญูชน หน้า 129-130.

ฤทัย หงส์ศิริ (2543) ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 วารสารการพาณิชยนาวี,19 (2),หน้า 50-51

หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุดที่ กค 0406.2/ว 66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550 พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-26

How to Cite

โชชัย ส. (2022). การกำหนดสัดส่วนความรับผิดอันเกิดจาก การกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 8(1), 45–56. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/258761