การศึกษาเนื้อหาและกลวิธีการเสียดสี ในการ์ตูนเพจ jod 8 riew

ผู้แต่ง

  • ปัทมา ประสารทรัพย์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • สุนทรี โชติดิลก คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

เฟซบุ๊ค, การ์ตูนเพจ, เสียดสี

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ Jod 8 riew ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 จ านวน 145 สถานะ ผลการศึกษา จัดประเภทเนื้อหาได้ 9 กลุ่ม ได้แก่ 1) เนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 2) เนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 3) เนื้อหา เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 4) เนื้อหาเกี่ยวกับค่านิยมที่ ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 5) เนื้อหาเกี่ยวกับรสนิยมที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 6) เนื้อหาเกี่ยวกับประสบการณ์ร่วมที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 7) เนื้อหาเกี่ยวกับประสบการณ์ตรงเฉพาะกลุ่มที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew 8) เนื้อหาเกี่ยวกับสังคมเมืองและสังคมชนบทที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew และ 9) เนื้อหาเกี่ยวกับข่าวสารบ้านเมืองที่ปรากฏในการ์ตูนเพจ jod 8 riew

References

กรมสุขภาพจิต. (2569). การลดความเครียด. เข้าถึงเมื่อ 26 พฤษภาคม. เข้าถึงได้จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=28248

คันธรส ชำนาญกิจ และจาริณี อิ้วชาวนา. (2558). เจตคติความพึงพอใจและการใช้ ประโยชน์สื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษาและบุคลากรคณะสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย, 2(5), 43-53.

ต้นคิด. (2562). กุศโลบายที่ผู้ใหญ่มักใช้หลอกเด็ก. เข้าถึงเมื่อ 26 พฤษภาคม. เข้าถึงได้ จาก https://www.sanook.com/campus/1396959/?fbclid=IwAR3q4XOmPoZPMnt-YHPadn_-9eimG8XVqFgMGfQI_V-2Lgv_2mbDdN-03Uk

ธวัช ปุณโณทก. (2522). วรรณกรรมท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

พรพิมล เจียมนาคินทร์. (2539). พัฒนาการวัยรุ่น(Adolescsnce development). กรุงเทพฯ: คอมฟอร์ม.

พิมพินิจ ผิวผ่อง. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจบริโภคขนมหวานในอำเภอ หัวหิน. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

มารศรี สอทิพย์. (2542). ลีลาเสียดสีในวรรณกรรมของลาว คำหอม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มิฬา แซ่ซ่ า. (2558). อิทธิพลของความสมบรูณ์แบบต่อวัตถุนิยมโดยมีการนำเสนอ ตนเองด้วยความสมบรูณ์แบบและการเพิ่มคุณค่าให้ตนเองเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วันวิสาข์ เอกกรณ์พงษ์. (2551). บทบาทของการเพิ่มคุณค่าในการส่งผ่านความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างความหลงตนเองและวัตถุนิยม. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรเมศวร์ พิริยะวัฒน์. (2553). ทฤษฏีพฤติกรรมและการประยุกต์สำหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมการเดินทางในประเทศไทย. วารสารวิศวกรรมสาร, 63(6), 62

สุวรรณา งามเหลือ. (2557). การศึกษาวิเคราะห์ภาพล้อสังคมไทยในสื่อสังคมออนไลน์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

อาภรณ์ ดีนาน. (2551). แนวคิด & วิธีการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น. ชลบุรี : ไฮเดนกรุ๊ป.

เว็ปไซต์ไทยโพสต์. (2562). ยืมนาฬิกาเพื่อนไม่ต้องแจ้งบัญชีทรัพย์สิน! ปปช. แจงชัด. เข้าถึงเมื่อ 18 พฤศจิกายน. เข้าถึง ได้จาก https://www.thaipost.net/main/detail/39500

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30