การบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพของ สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพ, คุณภาพข้อมูลตามเกณฑ์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) เป็นการศึกษา ข้อมูลย้อนหลัง ช่วงระหว่างปี 2560-2562 เทียบกับปี 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบคุณภาพข้อมูลสุขภาพจาก Health data center (HDC) ตามเกณฑ์คุณภาพ ข้อมูล 4 มิติ ก่อนและหลังได้รับการบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง สถาน บริการสาธารณสุข สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ หาค่าร้อยละ ผลวิจัยพบวาา ค่าร้อยละของคุณภาพข้อมูลหลังรับการบริหาร จัดการข้อมูลสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับการบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพ
References
กนกวรรณ บุ้นประสิทธิ์ชัย และปวีณา เชาวลิตวงศ์. (2551). ข้อมูลพื้นฐานที่มีความ จำเป็นสำหรับการบริหารจัดการงานสาธารณสุข. Journal of Health Research, 22(4), 189.
ธนาวุฒิ ธนวาณิชย์ และภุชงค์ อุทโยภาศ. (2555). ระบบประมวลผลแบบคลาวด์ แนวคิดสำหรับโครงสร้างพื้นฐานระบบสารสนเทศยุคใหม่. วารสารวิชาการ ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอรlและระบบสารสนเทศประยุกต์, 1(2), 65.
ปาริชาติ เยพิทักษ์ และธีระวัฒน์จันทึก. (2559). การบริหารจัดการข้อมูลขององค์การ ในภาครัฐ. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1).
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2564, จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=6422
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2553). การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและ สารสนเทศสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2564, จาก http://203.157.10.11/pmqa53/wp-content/uploads/km/dev.pdf
สุกัญญา เรืองสุวรรณ. (2553). การพัฒนาคุณภาพข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพองค์การ. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 28(3), 73-79.
Divorski, S., & Scheirer, M. A. (2001). Improving data quality for performance measures: Results from a GAO study of verification and validation. Evaluation and Program Planing, 24, 83-94.
Marshall, L., & De la Harpe, R. (2009). Decision making in the context of business intelligence and data quality. SA Journal of Information Management, 11(2), 1-7.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความ และไม่ได้เป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ กองบรรณาธิการ หรือ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา