แอปพลิเคชันท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ : นวัตกรรมสังคมเพื่อคุณภาพชีวิต

ผู้แต่ง

  • ฐิติยา เนตรวงษ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

คำสำคัญ:

แอปพลิเคชันท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, ผู้สูงอายุ, นวัตกรรมสังคม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ ที่ผสมผสานการรักษาและฟื้นฟูสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจควบคู่ กันสำหรับผู้สูงอายุ โดยใช้นวัตกรรมที่เอื้อประโยชน์แก่ผู้สูงอายุด้วยแอปพลิเคชัน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเข้าถึง แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ที่ช่วยแนะนำ เสนอแนะ และแสดงข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยว สำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ค้นหาที่พักผ่อนทางร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการที่สร้างสรรค์ที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุได้มีสุขภาพ ที่ดี ในการออกแบบแอปพลิเคชันท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุได้คำนึงถึงความ ต้องการ และปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับผู้สูงอายุ ช่วยใน การค้นหาและแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวที่ส่งเสริมสุขภาพ เพิ่มความหลากหลายในช่อง ทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพให้ตามยุคสมัย รวมถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการให้ความรู้ และการดูแลสุขภาพ ฟื้นฟูสภาพจิตใจ จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จึงนับเป็นนวัตกรรม สังคมในสังคมสูงวัยเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2558). ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560. สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2563 จาก https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=7114.

ข่าวสารสุขภาพ. (2563). เปิดแผนท่องเที่ยวเชิงสุขภาพรูปแบบใหม่ เน้นวิถีถิ่น กระตุ้น เศรษฐกิจหลังวิกฤตโควิด.สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://healthserv.net/6663.

เฉลิมพงษ์ ลินลา. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้แอปพลิเคชับนสมาร์ทโฟนและ แท็บเล็ตของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี

ทิพยา จินตโกวิท และศจีมาจ ณ วิเชียร. (2562). แนวทางการออกแบบเว็บไซต์ด้าน สุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 10(1), 217-226.

นฤมล อนุสนธิ์พัฒน์. (2563). การปรับตัวทางเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวในสภาวะวิกฤต โควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย. วารสาร วิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), 1-24.

พนม คลี่ฉายา. (2563). การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุและข้อเสนอเพื่อการ เสริมสร้างภาวะพฤฒิพลังของผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

พิมลอร ตันหัน. (2559). แนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชันบนโทรศัทพ์มือถือส าหรับ ผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยออสเทิร์นเอเชีย, 10(3), 55-62.

รัตนา ปานเรียนแสน สมบัติ กาญจนกิจ และกิ่งกนก เสาวภาวงศ์. (2560). รูปแบบการ พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเอเชีย. กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และส านักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.).

วิภาวดี ลี้มิ่งสวัสดิ์ นพรัตน์ ศุทธิถกล และเกษวดี พุทธภูมิพิทักษ์. (2560). ศักยภาพและ จุดเด่นของแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย และ กลุ่มประเทศที่มีความโดดเด่นในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเอเชีย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

วิเชียร ชุติมาสกุล และคณะ. (2557). การวิจัยเพื่อการวางรากฐานและพัฒนาระบบ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตในสังคมผู้สูงอายุ. (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.

วุฒิชาติ สุนทรสมัย และปิยะพร ธรรมชาติ. (2559). รูปแบบการท่องเที่ยวชุมชนเชิง สุขภาพของจังหวัดปราจีนบุรีเพื่อการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนอย่าง ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก https://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=183343.

ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์. (2556). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบ าบัดรักษา. วารสาร วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 8(2), 1-13.

สมบัติ กาญจนกิจ สุจิตรา สุคนธทรัพย์ เรณุมาศ มาอุ่น วิภาวดี ลี้มิ่งสวัสดิ์ และรัตนา ปานเรียนแสน. (2560). ศักยภาพอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเอเชีย. กรุงเทพฯ: สำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

สิทธา กองสาสนะ. (2552). การศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 4(2), 35-58.

สุธิรา จันทร์ปุ่ม พิเชนทร์ จันทร์ปุ่ม และแพรตะวัน จารุตัน. (2560). การพัฒนาโมบาย แอปพลิเคชั่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสกลนครบนระบบปฏิบัติการแอนดรอย์. สืบค้นเมื่อ 24 มีนาคม 2562 จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/itmjournal/article/download/115344/89148/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-29