การศึกษาปรัชญาจีนด้านการฝึกฝนคุณธรรมในจิตใจและการช่วยเหลือผู้อื่นในวรรณกรรมจีนโบราณ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาวรรณกรรมจีนโบราณในมุมมองปรัชญาจีนด้านการฝึกฝนคุณธรรมภายในจิตใจให้ตนเองและช่วยเหลือผู้อื่น มีวิธีการดำเนินการวิจัยโดยใช้การศึกษาวิจัยเอกสาร มีขั้นตอนในการค้นคว้าเอกสารงานจากหนังสือหลัก 7 เล่ม รวมทั้งผลงานวิจัยและระเบียบวิธีที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์วรรณกรรมจีนโบราณในมุมมองปรัชญาจีนด้านการฝึกฝนคุณธรรมภายในจิตใจในยุคที่เห็นได้เด่นชัด แล้วนำเสนอข้อมูลเชิงข้อความพรรณนา โดยมีผลสรุปที่แบ่งตามลักษณะเด่นตามยุคได้ดังนี้ 1. เทพนิยาย บทกวีสะท้อนความทุกข์ยากของสังคมและปรัชญาในรูปแบบร้อยแก้วยุคก่อนราชวงศ์ฉิน ในเทพนิยายจีนหลายเรื่องได้สะท้อนถึงตัวละครที่มีความรู้ความสามารถและความดีเสมือนเทพเจ้าที่คอยช่วยเหลือมวลมนุษย์ ส่วนบทกวีในคัมภีร์ซือจิงก็เน้นสะท้อนความทุกข์ยากของสังคม เสียดสี ยกย่องสรรเสริญ รวมทั้งประเพณี พิธี มารยาท จนได้รับการยกย่องเป็นคัมภีร์ใช้สอนปรัชญาของสำนักขงจื่อ ปรัชญาในรูปแบบร้อยแก้วยุคก่อนราชวงศ์ฉินที่มีหลายสำนัก แต่สำนักขงจื่อกับเหลาจื่อก็ถือเป็นผลงานวรรณกรรมที่มีอิทธิพลต่อความคิดคนจีนสูงสุด โดยเฉพาะปรัชญาขงจื่อที่มุ่งเน้นหลักเมตตาธรรมที่ฝึกฝนคุณธรรมภายในจิตใจให้ตนเองและช่วยเหลือผู้อื่น 2. บันทึกประวัติศาสตร์เพื่อชนรุ่นหลังยุคราชวงศ์ฮั่น เช่น ซือหม่าเชียนนักประวัติศาสตร์สมัยราชวงศ์ฮั่น หรือแม้กระทั่ง 3.กวีรักชาติและปรัชญากวียุคราชวงศ์ถัง-ซ่ง ผลงานของพวกเขาเหล่านั้น มีจำนวนไม่น้อยที่สะท้อนแก่นแท้ของมุมมองปรัชญาจีนที่แสดงความเป็นห่วงเป็นใยประเทศชาติและประชาชน
Article Details
References
ขงจื่อ. (2019). ชุดหนังสือคลังปัญญาตะวันออก คัมภีร์วุฒิศาสตร์•คัมภีร์ทางสายกลางฉบับคัดสรร (จาง
ป่าวเฉวียน อธิบาย และ หลิวจุ้นถง แปล). กุ้ยหลิน: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยครุศาสตร์กว่างซี.
เหลาจื่อ. (2564). คัมภีร์ธรรมเต๋าเต็กเก็ง (นรบรรณ พากย์ไทย). นนทบุรี: สำนักพิมพ์ศรีปัญญา.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. https://dictionary.orst.go.th
/index.php
Sun Caixia. (2020). Literature and Philosophy in Comparative Literary Influence Research. Lunwen study .
from http://www.xueshut.com/bijiaowx/156497.html.
Wang Shunhong. (2007). China Survey. Beijing: Peking University Press.
Zhang Dainian. (2005). The Outline of Chinese Philosophy. Nanjing: Jiangsu Educational Press.
Zhang Lizhu. (2010). Thirty Lectures on the History of Chinese Philosophy. Beijing: Beijing Normal University
Press.
Qin Hui. (2003). Ten Theories on Tradition. Shanghai: Fudan University Press.
WANG Guo-yu. (2011). On the Constructive Role of the Interpretation of The Book of Poetry in the Formation of
Early Confucian Philosophy. Journal of Shenzhen University(Humanities & Social Sciences), 28(6).
http://www.szdxxb.com/index.php?m=content&c=index&a=show&catid=42&id=545
HE Fa-su. (2016). A Review about Sima Qian's Academic Origin and School. Journal of Huainan Normal
University. http://www.xml-data.cn/WNSFXYXB/html/c6e3601d-e2b1-4d28-8fbd-80048795eef0.htm#close
Chang Ning. (2023). The historical background and spiritual course of Su Shi's poetry style changes in different
periods. China social science university humanity,1-5. https://www.sinoss.net/c/2023-09-26/635130.shtml
Yu Xianhao. (2003). Selected Works of Ancient Chinese Literature Volume 1 Pre-Qin Part. Beijing: Higher
Education Press.
Yu Xianhao. (2003). Selected Works of Ancient Chinese Literature Volume 2 Qin Han Wei and Jin North and
South. Beijing: Higher Education Press.
Yu Xianhao. (2003). Selected Works of Ancient Chinese Literature Volume 3 Sui Tang and Five Dynasties.
Beijing: Higher Education Press.
Yu Xianhao. (2003). Selected Works of Ancient Chinese Literature Volume 4 Song, Liao and Jin Dynasties.
Beijing: Higher Education Press.
General Editorial Board of Encyclopedia of China. (2002).Encyclopedia of China Chinese Literature Volume 1.
Beijing: Encyclopedia of China Publishing House.
General Editorial Board of Encyclopedia of China. (2002).Encyclopedia of China Chinese Literature Volume 2.
Beijing: Encyclopedia of China Publishing House.
Dong Xianming, Xiong Su. (2015). The importance of tea ceremony culture in the Shih Ching scripture of
Confucianism towards students’ quality humanitarian education. Yuwen jianshe, (9X),87-88 .
https://deyu.usst.edu.cn/_upload/article/files/fe/86/9149f1484dd395c5dc5a6b12c17f/3bdd4cd2-a207-
-9be0-de44c006702f.pdf
Translated by Zhang Yanying. (2007). The Analects of Confucius. Beijing: Chung Hwa Book Company.
Bian Xiaoxuan, Huang Qingquan. (2000). Seleced Works From Chinese Classical Literature: Pre-Qin Qin Han
Wei Jin Southern and Northern Dynasties Volume. Wuhan: Central China Normal University Press.
Qin Hua. (2012). The Wisdom of Life from Classic Chinese Literature and Spirit. National Office of Philosophy
and Social Sciences. http://www.nopss.gov.cn/GB/219506/219508/219525/17342073.html
Zhao Yanfeng. (2009). An Academic Chinese Course for Chinese Philosophy. Beijing: Peking University Press.