การศึกษาคำทับศัพท์และคำศัพท์บัญญัติใหม่ภาษาเกาหลีในสื่อสังคมออนไลน์

Main Article Content

ภาวนา เพ็ชรพราย

บทคัดย่อ

                 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารวบรวมและจำแนกคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติใหม่ของเกาหลีที่ปรากฏในสื่อออนไลน์ในปี 2019 วิเคราะห์กระบวนการสร้างคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติใหม่ในภาษาเกาหลีและแบ่งประเภทตามความหมายพร้อมทั้งอธิบายความหมายโดยได้ศึกษาจากเว็บไซต์ Facebook ช่องข่าว YTN , MBCNEWS, KBSWORLD, KBSDRAMA, Arirangkpop, Dripstorage และจากเว็บไซต์Trenda word ที่ปรากฏในช่วงวันที่ 1 มกราคม 2019 – 31 ธันวาคม 2019 ผลการวิจัยพบว่าสามารถรวบรวมคำศัพท์ได้ ทั้งหมด 353 คำ โดยมีคำทับศัพท์และคำศัพท์บัญญัติใหม่ประเภทคำย่อที่ปรากฏเป็นจำนวนมากที่สุด คือ 150 คำ รองลงมาคือ คำประสม จำนวน 145 คำ และคำเดี่ยวจำนวน 58 คำ และเมื่อแบ่งประเภทตามความหมาย มีคำเกี่ยวกับวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ปรากฏมากเป็นอันดับ 1 คือ จำนวน 56 คำ อันดับที่ 2 คือ การบริโภค 44 คำ ลำดับที่ 3 คือ การใช้สื่อโซเชียล 34 คำ และคำที่เกี่ยวกับ เศรษฐกิจ COVID – 19 รูปร่างหน้าตา การศึกษา เป็นต้นและมีคำที่ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มได้อีก จำนวน 106 คำ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

แก้วสุกใส ร., & จุสปาโล ช. (2556). เครือข่ายสังคมออนไลน์ : กรณี เฟสบุ๊ค (Facebook) กับการพัฒนาผู้เรียน. Princess of Naradhiwas University Journal, 5(4).

ดวงกมล ชาติประเสริฐ และ ศศิธร ยุวโกศล. (2556). พฤติกรรมและการใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์เครือข่ายสังคมเฟซบุ๊ค. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 21, 35-57.

นันทนา วงษ์ไทย. (2564). การสร้างคำและความหมายของคำภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019.วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ .1(43), 67-89

พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. (2554). สื่อสังคมออนไลน์: สื่อแห่งอนาคต. วารสารนักบริหาร. 31(4), 99-103

เมตตา วิวัฒนานุกูล. (2557). เครือข่ายสังคมออนไลน์กับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมในสังคมไทย. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 6 (7),63-70

วิระ แก้วสุกใสและชัยรัตน์ จุสาโล.(2556). เครือข่ายสังคมออนไลน์ : กรณีเฟสบุ๊ค (Facebook) กับการพัฒนาผู้เรียน.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 5(197),195-205.

ศิริพร กนกชัยสกุล. (2553). เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking Website). Executive Journal,30, 1: 29-32.

ศิริพร ปัญญาเมธีกุล. (2548). ภาษาในห้องสนทนาทางอินเตอร์เน็ต. วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. 27: 63-71.

เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ. (2551). นวัตกรรมโทรคมนาคมและการสื่อสารเปลี่ยนวิถีโลก. วารสารกทช, 8, 13 – 18.รายงานการประชุม

ปิยวัฒน์ เกตุวงศา และ ศุทธิดา ชวนวัน. (2558, 1 กรกฎาคม). ใครเป็นใครบนเครือข่ายสังคออนไลน์ : ความหลากหลายทางคุณลักษณะและพฤติกรรม. รายงานการประชุมประชากรและสังคม ครั้งที่ 11: ณ โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ.เอกสารต่างประเทศ

Flexner, S. B. (1975). Preface and Introduction to the Appendix. In Dictionary of AmericanSlang. New York: Thomas Y. Crowell.

Fromkin, V., Rodman, R., & Hyams, N. (2017). An introduction to language (11thed.). Boston, MA: Cengage

Katamba, F. (1993). Morphology. Basingstoke: Macmillan.

O’Grady, W. (1997). Morphology: The study of word structure. In Contemporary Linguistics:An Introduction. 3rd ed. New York: St. Martin's Press.

Partridge, E. (1954). The world of words; an introduction to language in general and to English and American in particular. London: H. Hamilton.

Yule, G. (1996). The study of language. Cambridge: Cambridge University Press.

강범모. (2006).『언어: 풀어 쓴 언어학 개론』2, 한국문화사.

강희숙. (2021). 코로나-19 신어와 코로나 뉴노멀. 『인문학연구』61, 조선대학교 인문학연구원,

pp. 115-138.

고영근·구본관. (2015). 『우리말 문법론』, 집문당.

국립국어원. (2019). 『2019 신어 자료 조사』.

김병건. (2017). 「신조어의 조어법 연구」,『한말연구』제44호,한말연구학회, pp. 57- 81.

김일환. (2014).「신어의 생성과 정착 –신문의 신어 명사를중심으로」, 한국사전학』24,

한국사전학회

류해도. (2016). 「한·중 신어 대조 연구 –2015년 신어를 중심으로-」,국민대학교 대학원

석사학위논문.

문금현. (1999). 「현대국어 신어의 유형분류 및 생성원리」,『국어학』33, 국어학회,pp. 295-325.

소강춘·이래호·주경미. (2012).「개방형 한국어 지식 대사전의 신어 구축」,

『한국사전학회 학술대회 발표논문집』, 한국사전학회,pp.101-118..

이래호 (2009), 「2008년 신어의 단어 형성법 연구」, 한국중원언어학회 2009봄 학술발표회

자료집.

이사위. (2013).「신조어를 활용한 한국어 교육 방안 연구」, 한국외국어대학교대학원

석사학위논문.

이선웅. (2012). 『한국어 문법론의 개념어 연구』, 월인.

이수진·강현아·남길임. (2020). 「코로나-19 신어의 수집과 사용 양상 연구–주제 특정적 신어의

수집과 사용에 대한 고찰-」,『한국사전학』36, 한국사전학회, pp. 136-171.

임지룡.(1996).「혼성어의 인지적 의미 분석」, 『언어과학연구』13, pp. 191-214.

장이.(2020), 「중국인 한국어 학습자를 위한 신어 교육 연구 –줄임말을중심으로-」, 제주대학교

대학원 석사학위논문.

장혜연 (2007), 「신어의 조어방식과 특성」. 한양대학교 대학원 석사학위논문.

전명미 (2005), 「현대국어 신어 형성 양상에 대하여」, 영남대학교 대학원 석사학위논문.

정한데로 (2011).「임시어의 형성과 등재 –통사론적 구성의 단어화를 중심으로」, 한국어학회』52,

pp. 211-241.

สื่อออนไลน์

경향신문 (2019.03.16), "우리 집을 누린다...집돌이, 집순이의 진화 홈족"

광주일보 (2019.01.14),"2019트렌드코리아"

광주일보 (2019.01.14),"서울대 소비트렌드분석센터 예측 2019트렌드 키워드"

뉴데일리 (2019.03.08),"대깨문,문슬림...문재인 풍자 SNS 새문화로 두둥 "

동아일보 (2019.04.09), "찰칵,찰칵! 인증샷만 좋으면 그만? ...인스타그래머블의역습"

디지털조선일보 (2019.04.09), "나나랜드"

데일리팜 (2019.04.02), "관찰형 예능은 일상+감정대리 트렌드 결정체"

매일경제 (2019.05.02 ),"문대통령 국정농단 규명, 청산 뒤 협치..."

매일경제( 2019.01.31), "新소비트랜드‘카멜레존’TJ미디어 클럽노래방 열풍"

서울경제 (2019.04.26), “문정부 소주성 실패작...저소득층에 되레 칼날”

스마트경제 (2019.04.03), "‘집순이’ ‘집돌이’1인 가구가 이끄는 홈코노미 각광"

식품음료신문 (2019.04.02), "중국 發‘삼한사미’식품 시장도 강타"

아시아경제( 2019.04,02), "문정인 “북한이 먼저 영변 핵 폐기 보여줘야” 굿딜’제안‘"

아시아경제 (2019.04.19), "韓서 일 년에 4번 가격 올린다...‘사치민국’서 몰래웃는 명품"

아주경제 (2019.01.25), "배보다 배꼽이 더 큰 디드로 효과"

아주경제 (2019.03.22), "깐깐한 소비자 ‘체크슈머’"

이투데이 (2019.02.11), "가상화폐, 한국 흑수저들에겐 여전히 유일한 희망“NYT

이투데이 (2019.01.14 ),"2018 우리를 관통한 키워드: 워라밸"

중앙일보 (2019.05.07 ), "김영란법으로 인해 국내 카네이션이 안 팔린다."

티티엘뉴스 (2019.08.13 ),"가장 핫하게 사용되고 있는 2019년 인기 신조어 7 가지"

프레시안 (2019.04.12),"문재인 정부, ‘강남 좌파’이미지를 벗어라."

한경리크루트 (2019.06.27), "신조어로 보는 ‘2019년 취업시장"

네이버 지식백과 www.naver.com, 트렌드 지식사전 참고 (검색일:2019.01∼10월)

네이버 블로그 참조http:// blog.naver.com, (검색일 :2019.01∼10월)

https://www.facebook.com/ytn.co.kr.

https://www.facebook.com/MBCnews/.

https://www.facebook.com/KBSWORLD.

https://www.facebook.com/KBSdrama.

https://www.facebook.com/arirangkpop.

https://www.facebook.com/dripstorage. https://maily.so/trendaword/posts/e6b1b3.

https://xn--cw4by6x.com/2021trendawordtest.

https://maily.so/trendaword.

https://chalakornberg.com/we-are-social-digital(2020)