แนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา ภายใต้นโยบาย สะอาด ปลอดภัย เป็นธรรม ยั่งยืน รักษ์สิ่งแวดล้อม

Main Article Content

ธเนศ ยุคันตวนิชชัย

บทคัดย่อ

                งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา  ภายใต้นโยบาย สะอาด ปลอดภัย เป็นธรรม ยั่งยืน รักษ์สิ่งแวดล้อม วิธีดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ให้ข้อมูลหลักกลุ่มที่ 1 และ 2 ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มที่ 3 ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ส่วนการตรวจสอบข้อมูล ใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา โดยการสรุปความของเนื้อหา (Summative Content Analysis) เพื่อสรุปเป็นผลการวิจัย 5 ด้าน ซึ่งพบว่า “ด้านความสะอาด” ควรส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน ดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่โดยกำหนดเป็นเครื่องมือร่วมกัน “ด้านความปลอดภัย” ควรมีกติกาด้านความปลอดภัย ส่งเสริม ขวัญและกำลังใจการทำงานของ อาสาสมัครหมู่บ้านให้สามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยว โดยชุมชน “ด้านความเป็นธรรม” ควรสนับสนุนให้ภาคเอกชนร่วมลงทุนในชุมชน และมีการกระจายผลประโยชน์ที่เป็นธรรม ลงสู่ชุมชน “ด้านความยั่งยืน” ควรมีการพัฒนาการคมนาคม สร้างจิตสำนึกที่เข้าใจในวิถีชีวิตและวัฒนธรรม มีการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลชุมชน และ “ด้านรักษ์สิ่งแวดล้อม”  มีการถ่ายทอดความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากนักสื่อความหมายท้องถิ่น เพื่อดึงดูด ความสนใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ตระหนักถึงคุณค่าของการรักษ์สิ่งแวดล้อม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562, 23 กันยายน). ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อส่งเสริม

การท่องเที่ยวไทย เรื่อง การเปิดรับข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนเพื่อส่งเสริม

การท่องเที่ยวไทย ประจำปีบัญชี 2563.

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565). แผนปฏิบัติการด้านการขับเคลื่อนการพัฒนา

ประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564-2570. https://www.bcg.in.th/bcg-action-plan

กานต์มณี ไวยครุฑ. (2564, มีนาคม-เมษายน). การพัฒนาศักยภาพชุมชนบนฐานทรัพยากรวัฒนธรรมไทย-มอญ

ชุมชนบ้านงิ้ว จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 13(2), 135-146.

โฆสิต แพงสร้อย. (2561, มกราคม-มีนาคม). การจัดการทางวัฒนธรรมของผู้นำชุมชนในการส่งเสริมกิจกรรม

เพื่อความมั่นคงทางสังคมที่ยั่งยืน. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 32-42.

จิราณีย์ พันมูล และประพันธ์ โพธิ์พูลพรหม. (2563, กรกฎาคม-สิงหาคม). กิจกรรมพหุวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริม

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 12(4), 307-318.

จีรเกียรติ อภิบุณโยภาส และปานแก้วตา ลัคนาวานิช. (2563, มีนาคม-เมษายน). การพัฒนาศักยภาพการประกอบ

ธุรกิจหมู่บ้านทำมาค้าขาย วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวคุณค่า ชาวนาคุณธรรม จังหวัดยโยบาย.

วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 12(2), 101-118.

ชุติกาญจน์ กันทะอู. (2560). การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นพื้นฐาน : กรณีศึกษา บ้านร่องฟอง ตำบลร่องฟอง

อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. (2556). ระเบียบวิธีวิจัย : หลักการและแนวคิด เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย

(พิมพ์ครั้งที่ 8). เอ็กซเปอร์เน็ท, 2556.

ธาดา สืบหลินวงศ์, พรรณแข มไหสวริยะ และสุธี พานิชกุล, บรรณาธิการ. (2551). แนวทางจริยธรรมการทำวิจัยในคน

ในประเทศไทย พ.ศ. 2550. ชมรมจริยธรรมการทำวิจัยในคน.

ประสพชัย พสุนนท์. (2555). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ท้อป.

พัชราภรณ์ จันทรฆาฎ, กานต์มณี ไวยครุฑ และปรัชญพัชร วันอุทา. (2565, พฤษภาคม-สิงหาคม). การยกระดับ

ศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาพื้นที่บนฐานอัตลักษณะท้องถิ่นของตำบลบ้านงิ้ว

อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 24(2), 19-27.

ยุทธศักดิ์ สุภสร. (2563). การนำเสนอทิศทาง การส่งเสริมการท่องเที่ยว ของ ททท. ปี 2563.

https://www.tatreviewmagazine.com/article/tourism-direction-2020/

วารยาภา มิ่งศิริธรรม และรวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์. (2564, มกราคม-มีนาคม). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน

อย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาชุมชนคลองมหาสวัสดิ์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. วารสารการวิจัย

การบริหารการพัฒนา, 11(1), 38-49)

ศุภาวิณี กิติวินิต. (2564). ความพร้อมและศักยภาพทรัพยากรที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชน ตําบลลิดล

อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 16(1), 22-32.

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก. (2562). แหล่งท่องเที่ยวชุมชน. https://thaipublica.org/tag/

เสรี วรพงษ์. (2558). การประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการของ เทศบาลนครอ้อมน้อย

อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล.

สรรเพชร เพียรจัด, จตุพัฒน์ สมัปปิโต, จินตนา วัชรโพธิกร และจารินี ม้าแก้ว. (2564, มกราคม-มิถุนายน).

รูปแบบการยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์พื้นถิ่นข้าวเม่า แบบบูรณาการ

อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 6(1), 105-119.

สุภางค์ จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวดี บุญมาจรินนท์, จันทร์จิตต์ ฐนะศิริ และมนรัตน์ ใจเอื้อ. (2565 : ตุลาคม-ธันวาคม). การออกแบบประสบการณ์

การท่องเที่ยวโดยชุมชนผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนฐานโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน.

วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 19(2), 84-92.

สุวิมล ติรกานันท์. (2551). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 7). โรงพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะใหญ่. (2563). แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี 2561 - 2564 ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์

จังหวัดสงขลา. http://www.kohyai.go.th/strategy/?cid=79

อมาวสี อัมพันศิริรัตน์ และพิมพิมล วงศ์ไชยา. (2560, พฤศจิกายน-ธันวาคม). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม :

ลักษณะสำคัญและการประยุกต์ใช้ในชุมชน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,

(6). 2560: 192-202.

อรรถพล ศิริเวชพันธ์. (2565, มกราคม-มิถุนายน). ศักยภาพในการปรับตัวเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนสู่มาตรฐาน

ความปกติใหม่ภายใต้สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 : กรณีศึกษาบ้านเมืองจันทร์ อำเภอเมืองจันทร์

จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 8(1), 101-110.

Aun-ob, P., & Prapasuchart, N. (2008). Developing to a Healthy City Lesson: 5 Cases. Bangkok: PA Living.

[In Thai]

Etikan, I., Musa, S. A., and Alkassim, R. S. (2016). “Comparison of Convenience Sampling and Purposive

Sampling,” American Journal of Theoretical and Applied Statistics, 5(1), 1-4.

F. N. Kerlinger, and H. B. Lee. (2000). Foundations of Behavioral Research (4th ed.). Thomson Learning.

Hsieh, H-F., & Shannon, S. E. (2005). Three Approaches to Qualitative Content Analysis. Qualitative Health

Research, 15(9), 1277-1288.

Juma, L. O., & Khademi-Vidra, A. (2019). Community-Based Tourism and Sustainable Development of Rural

Regions in Kenya; Perceptions of the Citizenry. Sustainability, 11(17), p. 4733.

Lucchetti, V. G., & Font, X. (2013). Community Based Tourism: Critical Success Factors. ICRT Occasional

Paper, (OP27)

National Strategy. (2017). National Strategy in 20 years of Thailand for Stability, Prosperity and Sustainability.

http://planning.pn.psu.ac.th/plan_doc/procedure/docs_procedure/300_1498813858.pdf.

Paramati, S. R., Alam, M. S., & Chen, C. F. (2016). The Effects of Tourism on Economic Growth and CO2

Emissions: A Comparison Between Developed and Developing Economies. Journal of Travel

Research, 56(6), 712-724

Patcharaporn Jantarakast and Atchira Tiwasing. (2021). Creative Tourism Development Program in Ban Ngew

Subdistrict, Sam Khok District, Pathum Thani Province. Turkish Journal of Physiotherapy and

Rehabilitation, 32(3), 34610-34620.

Rout, P. C. & Gupta, S. K. (2017). Asset based community development in mountain environs: a strategic

application for sustainable community based tourism development in the Jaunsar-Bawar region of Uttarakhand, India. African Journal of Hospitality, Tourism and Leisure, 6(3), 1-11.

Strydom, A. J., Mangope, D. & Henama, U. S. (2018). Lessons learned fromSuccessfulCommunity-Based

Tourism Case Studies from the Global South. African Journal of Hospitality,

Tourism and Leisure, 7(5), 1-13.