ผลกระทบของการจัดทำบัญชีที่มีต่อผลการดำเนินงานของเกษตรกร อัตลักษณ์พื้นถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการจัดทำ บัญชีของเกษตรกรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
ในจังหวัดมหาสารคาม 2) เพื่อศึกษาระดับผลการดำ เนินงานของเกษตรกรอัตลักษณ์พื้นถิ่นในจังหวัด
มหาสารคาม และ 3) เพื่อทดสอบการจัดทำ บัญชีที่มีต่อผลการดำ เนินงานของเกษตรกรอัตลักษณ์
พื้นถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นเกษตรกรเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจสำ คัญใน
จังหวัดมหาสารคาม จำ นวน 400 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์ถดถอย
เชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกร มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดทำ บัญชีโดยรวม
อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย ด้านความรู้ความสามารถ และด้านเอกสารและวิธีการทางบัญชี ด้านความ
ร่วมมือและประสานงาน และด้านเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ตามลำ ดับ 2) เกษตรกร มีความคิดเห็น
เกี่ยวกับผลการดำ เนินงานโดยรวม อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย ผลการดำ เนินงานทางการเงิน และ
ผลการดำ เนินงานที่ไม่ใช่ทางการเงิน และ 3) ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย คือ ยอมรับสมมติฐาน
การจัดทำ บัญชี มีผลกระทบเชิงบวกต่อผลการดำ เนินงาน โดยสามารถพยากรณ์ผลการดำ เนินงาน
ได้ร้อยละ 42.90
Article Details
References
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2564). แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี
(พ.ศ. 2566 - 2570). สำ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร.
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2564). แผนปฏิบัติราชการกรมส่งเสริมการเกษตรระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 -
. กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิพย์วรรณ์ ทนันไชย ละเอียด ศรีหาเหง่า นินุช บุณยฤทธานนท์ และสัชฌุเศรษฐ์ เรืองเดชสุวรรณ. (2565).
แนวทางการบริหารต้นทุนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบมีส่วนร่วมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ปลูกผักปลอดสารพิษ ตําบลยางเนิ้ง อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์, 41 (2), 30-47.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2563). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่
. บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี, หสม.
บุญทวี ดวงนิราช. (2564). เกษตรกรรม ทางเลือก ทางรอด. จาก https://www.depa.or.th/th/articleview/agriculture-alternative-way-of-survival.
ปาริชาติ มณีมัย ชลันธร ศรีธรรมโชติ ภัทรพล วรรณราช และระวิวรรณ สุขพิลาภ. (2561). การจัด
ทำ บัญชีตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีเกษตรกรในพื้นที่โครงกำ รส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ตำ บลนาข้าวเสีย อำ เภอนาโยง จังหวัดตรัง. วารสารพัฒนาสังคม,
(2), 17-33.
วสันต์ กาญจนมุกดา ภานุ ธรรมสุวรรณ และวิวัฒน์ ฤทธิมา. (2565). การทำ บัญชีครัวเรือนของ
เกษตรกรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพื้นที่จังหวัดพัทลุง. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 6 (1), 187-198.
วรพรรณ รัตนทรงธรรม. (2564). ผลกระทบของการปฏิบัติทางการบัญชีบริหารที่ดีต่อความเป็นเลิศในการ
ดำ เนินงานที่โดดเด่น ความมีประสิทธิผลในการตัดสินใจ และการเติบโตของธุรกิจอย่างยั่งยืน
ของธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม, 13 (3), 210-228.
สุภาพร อามาตย์. (2565). แนวทางการจัดทำ บัญชีสำ หรับวิสาหกิจชุมชน OTOP นวัตวิถีเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการดำ เนินงานของวิสาหกิจชุมชนบ้านดอนข่า ตำ บลพราน อำ เภอขุนหาญ
จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 17 (2), 23-32.
สำ นักงานจังหวัดมหาสารคาม. (2564). แผนพัฒนาจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2566-2570. สำ นักงาน
จังหวัดมหาสารคาม.
Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making (4th ed). John Wiley and
Sons.
Krejcie, R. V., and Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and Perchological Measurement, 30, 607-610.
Likert, R. (1967). The human organization: Its management and value. McGraw-Hill.