การจัดการโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวในชุมชนบ้านเกาะแรต จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว 2) ศึกษา ระดับความคิดเห็นการจัดการโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยว 3) ศึกษาอิทธิพลของการจัดการโลจิสติกส์ เพื่อการท่องเที่ยวและประสบการณ์การท่องเที่ยวที่มีผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวที่เคยเดินทางมาท่องเที่ยวในพื้นที่ชุมชนบ้านเกาะแรต จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า วัตถุประสงค์หลักของการเดินทางท่องเที่ยวในชุมชนบ้านเกาะแรต คือ เพื่อพัก ผ่อนหย่อนใจ ชมทิวทัศน์รอบเกาะ รับประทานอาหาร และถ่ายภาพ ส่วนใหญ่เดินทางมาท่องเที่ยวกับ กับครอบครัว สำาหรับระดับความคิดเห็นการจัดการโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยว ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่ให้ความสำคัญด้านการไหลทางการเงิน ด้านการไหลทางกายภาพ และด้านการไหลของสารสนเทศ ตามลำดับ โดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การจัดการ โลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยว การไหลทางการเงิน และด้านการไหลของสารสนเทศ มีอิทธิพลต่อความ พึงพอใจของนักท่องเที่ยว และประสบการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ ของนักท่องเที่ยว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details
References
กนก บุญศักดิ์ สิทธิชัย พรหมสุวรรณ เสรี วงษมณฑา และวาสนา กีรติจำ เริญ. (2562). อิทธิพลของปัจจัยที่มีต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวต่อการท่องเที่ยวบน
ฐานชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารชุมชนวิจัย, 12(1), 10-28.
กมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ, ศลิษา ภมรสถิตย์ และ จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา. (2547). การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์. สำ นักพิมพ์ท้อป.
กสิณ รังสิกรรพุม(2563), การวิเคราะห์เส้นทางและปัจจัยที่ส่งผลต่อโลจิสติกส์เพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดอุบลราชธานี (An examination for routing and
factors impacting tourism logistics in Ubonratchathani Province), วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ม. เชียงใหม่, 27(2), 52-65.
คณพศ สิทธิเลิศ. (2554). โลจิสติกส์กับการท่องเที่ยวยุคปัจจุบัน. ศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 6(11), 1-14.
คมสัน สุริยะ. (2551). กรอบแนวคิดโลจิสติกส์สำ หรับการท่องเที่ยว. http://www.tourismlogistics.com
ชนิศา มณีรัตนรุ่งโรจน์ พัชรี ทองคำ กนกวรรณ มัติโก พงศกร ไพรโต พิซามญซ์ ชูพุดซา และศศิศรัณย์ ฉัตร คำภู. (2562). โลจิสติกส์การท่องเที่ยวที่มีผลต่อความ
พึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่.วารสารสหศาสตร์, 18(2). 184-209.
ชลิตา เฉลิมรักชาติ. (2560). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อวัดร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย[การค้นคว้าแบบอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ชวัลนุช อุทยาน. (2551). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. https://touristbehaviour.wordpress.com/1/
ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 13(2), 25-46.
เถกิงศักดิ์ ชัยชาญ. (2555). การจัดการโลจิสติกส์สำ หรับการท่องเที่ยวในอำเภอวังน้ำเขียวจังหวัดนครราชสีมา. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี (สังคมศาสตร์), 6(2),
-33.
ธวัชชัย จงสุขสันติกุล, (2549). การศึกษาความเป็นไปได้ในการนําโปรแกรมสําเร็จรูปมาใช้ในการติดตามกากับการปฏิบัติราชการ กรณีศึกษากรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข ํ [การค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย]. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
พรปวีณ์ ปานสวี, มณฑาทิพย์ กังวานสุระ และเบญจมาศ ณ แก้วทอง. (2560). การศึกษาผลกระทบทางการท่องเที่ยวด้านสังคมจิตวิทยา ชุมชนเกาะแรต
อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
การประชุมวิชาการระดับชาติ การประชุม Liberal Arts and Management Sciences National Conference & Exhibition (pp. 249-258).
เพียงใจ คงพันธ์ และ ภัทราวรรณ วังบุญคง. (2563). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเขาศูนย์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี,12(1), 15-29.
มนทิรา สังข์ทอง. (2556). โลจิสติกส์ด้านการท่องเที่ยวเพื่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช (รายงานผลการวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช.
อดุลย์ จตุรงคกุล. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 3).โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุบลรัตน์ จันทรังษ์, กัมพล พรพัฒนไพศาลกุล, รัตติยากร ลิมัณตชัย และปภัสสร แสวงสุขสันต์. (2558).ทำอย่างไรให้ภาคการท่องเที่ยวขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
ได้อย่างยั่งยืน?. www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/Paper_TourismEngineGrowth.pdf
Augustyn, M. (1998). National strategies for rural tourism development and sustainability: The Polish experience. Journal of Sustainable
Tourism, 6(3), 191-209.
Kim, H., & Chen, J.S. (2019). The memorable travel experience and its reminiscence functions.Journal of Travel Research, 58(4), 637-649.
Kim, J.-H., & Ritchie, J.B. (2014). Cross-cultural validation of a memorable tourism experience scale (MTES). Journal of Travel Research,
(3), 323-335.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2010). Principles of marketing. Pearson education.Nunnally, J.C. (1978). Psychometric theory. McGraw-Hill
Book.
Rajan, V. (2015). Factors affecting tourist destination loyalty a case study of munnar, India as a tourism destination. International
Conference on Business, Economics and Management (ICBEM’15). Thailand.
Sirakaya-Turk, E., Ekinci, Y., & Martine, D. (2015). The efficacy of shopping value in predicting destination loyalty. Journal of Business
Research, 68(9), 1878-1885.
Vada, S., Prentice, C., & Hsiao, A. (2019). The influence of tourism experience and well-being on place attachment. Journal of Retailing
and Consumer Services, 47, 322-330.
Zhang, Y, Moqtaderi, Z, Rattner, B.P., Euskirchen, G., Snyder, M., Kadonaga, J.T., Liu, X.S., Struhl, K. (2009). Intrinsic histone-DNA
interactions are not the major determinant of nucleosome positions in vivo. Nature Structural &
Molecular Biology, 16(8), 847-852.