มูลค่าทางเศรษฐกิจของผักพื้นบ้านที่ปลูกโดยผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยจึงควรตระหนักถึงการเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” ด้วยจะเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำ คัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคตงานวิจัยนี้จึงทำ การวิเคราะห์ถึงมูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรงเพื่อการบริโภคผักพื้นบ้านที่ปลูกโดยผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยสมการ Net Village Product(NVP) โดยผลการศึกษาพบว่า มูลค่าการใช้ประโยชน์ทางตรงเพื่อการบริโภคผักพื้นบ้านที่ปลูกโดยผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลตำ บลป่าไผ่ อำ เภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2563 มีมูลค่ารวมกว่า 4.20 ล้านบาท ทั้งนี้หากมีการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในชุมชนปลูกผักพื้นบ้านเพิ่มมากขึ้น ไม่เพียงแต่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนของผู้สูงอายุได้เท่านั้นแต่ยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังอีกทางหนึ่ง
Article Details
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). จำ นวนผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ปี 2559. https://www.dop.
go.th/download/knowledge/knowledge_th_20170707092742_1.pdf
กรุงเทพธุรกิจ. (2562). Young Happy สูงวัย ไม่กลัวเหงา. https://www.bangkokbiznews.com/
recommended/detail/1238
ฑีฆา โยธาภักดี. (2557). การประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจของป่าในด้านการใช้ประโยชน์จากป่าในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 6(4), 23 - 41.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุ. (2563). กางสถิติพบผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปยังทำ งานอยู่กว่าร้อยละ34 แต่มีแนวโน้มลดลงเมื่ออายุมากขึ้น ส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบในภาคเกษตร. https://thaitgri.org/?p=39148#
รุ่งฤดี รัตนวิไล. (2559). การใช้ประโยชน์และมูลค่าทางเศรษฐกิจของผักพื้นบ้านในตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 8(1), 85 - 101.
สันติ สุขสอาด. (2552). การประเมินมูลค่าทรัพยากรป่าไม้. วารสารการจัดการป่าไม้, 3(6), 122 - 133.
สำนักงานสถิติจังหวัดเชียงใหม่. (2563). พฤฒพลังเชียงใหม่. https://www.chiangmaihealth.go.th/
cmpho_web/document/201007160205184040.pdf
โสมสกาว เพชรานนท์. (2553). การแบ่งมูลค่าสิ่งแวดล้อม. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
BrandInside. (2021). ไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ แต่ปัญหาใหญ่ รายได้น้อย เงินออมไม่พอ
ยืดเวลาเกษียณ. https://brandinside.asia/aging-society-challege-for-thailand/
Diawkee, T. (2561). 4 Smart สร้างสุขภาพผู้สูงอายุ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”.https://www.thaihealth.or.th/Content/41891-4%20.html
Sullivan, C. A. (2002). Using an income accounting framework to value non - timber forestproducts. In, D. W. Pearce, C. Pearce, & C. Palmer (eds). Valuing the Environment in Developing Countries: Case Studies (pp. 377 - 405). Edward Elgar.