ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการพัฒนาศักยภาพชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชน
จังหวัดศรีสะเกษ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชน
จังหวัดศรีสะเกษ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่
แบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนที่เข้าใช้บริการจำ นวน 398 คน ที่มาจากการคำ นวนขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างโดยใช้สูตร ทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 เก็บข้อมูลตามสัดส่วนและใช้วิธีการ
สุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็นโดยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ แล้วนำ ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม
มาวิเคราะห์โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการ
วิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยตัวแปรทั้ง 4 อยู่ในระดับมาก ผลวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการถดถอยพหุคูณเพื่อทำ นาย
อิทธิพลของปัจจัยทั้ง 4 ด้านพบว่าปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (β = 0.137) การบริหารองค์การ
(β = 0.244) ด้านขีดสมรรถนะบุคลากร (β = 0.225) การมีส่วนร่วมของชุมชน (β = 0.303) มีอิทธิพล
ต่อการพัฒนาศักยภาพชุมชนผ่านศูนย์ดิจิทัลชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ
.05
Article Details
References
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2564). โครงสร้างสำ นักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม. https://www.mdes.go.th.
กนิษฐา ศอกกลาง. (2558). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้าน
ธารปราสาท อำ เภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. วารสาร มทร.อีสาน (ฉบับมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์), 2 (2), 81-91.
ครรชิต สิงหเสมานนท์ และสัมพันธ์ พลภักดิ์. (2560). การบริหารจัดการพื้นที่ป่าชายเลนของกรม
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการ
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์), 8 (1), 122-131.
ดิษฎาพันธ์ บุตรกุลและศิริณา จิตต์จรัส. (2562). การส่งเสริมความพร้อมการดําเนินงานของศูนย์ดิจิทัล
ชุมชนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 11 (1), 241-255.
ธนพร แย้มสุดา. (2561). การจัดการความรู้: เครื่องมือขับเคลื่อนสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้และองค์กรขีด
สมรรถนะสูง. วารสารแพทย์นาวี, 45 (1), 170-181.
พัชราภา สิงห์ธนสาร. (2557). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนบริเวณพื้นที่รอบวนอุทยานเขาหลวง เขตอำ เภอ
ลาดยาว และอำ เภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. วารสารมหาวิทยาลัยภายัพ, 24 (2), 169-204.
พิกุล มีมานะ, ดุษฎีวัฒน์ แก้วอินทร์ และสนุก สิงห์มาตร. (2559). การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ผ่าน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. ธรรมทรรศน์, 16 (3), 203-215.
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. (2561). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก.
สิริมาส จันทน์แดง. (2564). Edtech เทรนด์การศึกษายุคใหม่: การนำ มาใช้ลดความเหลื่อมล้ำ ด้านการ
ศึกษาท่ามกลางปัญหาช่องว่างทางดิจิทัล. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 12 (3),
-56.
สำ นักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ศูนย์ดิจิทัลชุมชน. https://dcc.
onde.go.th.
อมรจิต ขานพิมาย และ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2560). การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมรายได้ของประชาชน
ตามโครงการหนึ่งตำ บลหนึ่งผลิตภัณ์ขององค์การบริหารส่วนตำ บลในจังหวัดปทุมธานี.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์), 7 (3), 213-222.
อุไรวรรณ แมะบ้าน. (2563). การบริหารจัดการทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาชุมชนในรูปแบบชุมชนพึ่ง
ตนเอง. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 8 (2), 73-88.
Hughes, J. & Lan, K. R. (2003). The culture of digital community networks and its impact on
the music industry. The International Journal on Media Management, 5 (3), 180-189.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). Harper & Row Publications.