กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในเฟซบุ๊กเพจ “Maepranom”

Main Article Content

พรนภัส ทองพูล

บทคัดย่อ

                  บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาที่ใช้ในปริจเฉทเฟซบุ๊กเพจ“Maepranom” และมุ่งตอบคำ ถามว่าผู้เขียนใช้กลวิธีทางภาษาใดบ้างเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการสื่อสาร โดยเลือกเก็บข้อมูลที่เผยแพร่ตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน 2563 ถึงวันที่ 19 มิถุนายน 2565 จำนวน 101 ปริจเฉท ผลการวิจัยแสดงให้เห็นกลวิธีทางภาษาที่ผู้เขียนเลือกใช้ในเพจฯ จำ นวน 8 กลวิธี ได้แก่ 1) การใช้คำ เรียก 2) การใช้ถ้อยคำ ที่มีการติดเครื่องหมายแฮชแท็ก (#) 3)การเล่นคำ 4) การใช้คำสแลง 5) การใช้คำ ภาษาอังกฤษ 6) การเล่นเสียงสัมผัส 7) การใช้อุปลักษณ์ และ 8) การใช้สำนวน โดยกลวิธีทางภาษาดังกล่าวมีหน้าที่ในการสื่อสาร 7 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อเรียกร้องความสนใจจากผู้อ่าน 2) เพื่อส่งเสริมการขายสินค้า 3) เพื่อสร้างเนื้อหาประกอบการโฆษณาสินค้า 4) เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ให้กับสินค้า 5) เพื่อสร้างความสนิทสนมกับผู้อ่าน 6) เพื่อสร้างความสนุกสนานให้กับผู้อ่าน และ 7) เพื่อโน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นภาพอย่างเป็นรูปธรรม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา ต้นโพธิ์. (2563). การศึกษาวิเคราะห์กลวิธีการใช้ภาษาและกลวิธีการนำ เสนอเนื้อหาในเฟซบุ๊กแฟนเพจยอดนิยมของไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,39 (1), 1-14.

ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2558). อุปลักษณ์เกี่ยวกับอารมณ์กลัวในภาษาไทย. วารสาร มฉก.วิชาการ,18 (36), 65-77.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2555) เอกสารคำสอน รายวิชา การวิเคราะห์ภาษาไทย ตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์. เอกสารคำสอน ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรนภัส ทองพูล. (2559). รูปเบี่ยงบังและหน้าที่ในแผ่นพับโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดน้ำหนัก[ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].

เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์. (2530). ปริจเฉทแนวใหม่. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 9 (1), 257-263.

เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์. (2533). การวิเคราะห์ปริจเฉทภาษาไทย (รายงานผลการวิจัย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยาภา ลิ่วเจริญชัย. (2548). การศึกษาเชิงปริจเฉทวิเคราะห์แบบทดสอบในนิตยสารไทย [ปริญญานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย].

ราชบัณฑิตสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. https://dictionary.orst.go.th/

รัชนีย์ญา กลิ่นน้ำ หอม. (2556). อุปลักษณ์ความสุขในบล็อกไทย. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 14 (2), 132-138.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2547) สมญานามนักการเมือง: การละเล่นทางภาษาเพื่อวิจารณ์การเมืองไทยของสื่อมวลชน. ใน เจิมศักด์ ปิ่นทอง และ อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บรรณาธิการ), รู้ทันภาษา รู้ทันการเมือง (หน้า 73-107). ฃอคิดด้วยฅน.

สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์. (2560). เนื้อหาและกลวิธีทางภาษาที่ใช้ในคอลัมน์ซุบซิบประเภทแฉในสื่อออนไลน์ภาษาไทย: กรณีศึกษาคอลัมน์ซุบซิบวิจารณ์แหลกของเจ๊หว่างออนไลน์ในเว็บไซต์เอ็มไทย. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์. (2562). กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในคอลัมน์ซุบซิบประเภท “แฉ” ในสื่อออนไลน์ภาษาไทย: กรณีศึกษาคอลัมน์ซุบซิบ “วิจารณ์แหลก” ของ “เจ๊หว่างออนไลน์” ในเว็บไซต์เอ็มไทย.วารสารอักษรศาสตร์, 48 (1), 41-76.

สิทธิธรรม อ่องวุฒิวัฒน์. (2564). ปริจเฉทข่าวบันเทิงในเฟซบุ๊กเพจ “ใต้เตียงดารา” การศึกษาจากมุมมองปริจเฉทวิเคราะห์และวัจนปฏิบัติศาสตร์. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 38 (1), 1-60.

อรวี บุนนาค. (2562). กลวิธีทางภาษาในการประกอบสร้างภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ ในภาวะวิกฤตผ่านเฟซบุ๊กองค์กร [ปริญญานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร].

Marketingoops!. (2563). ถึงเวลา ‘แม่ประนอม’ สลัดภาพหญิงยุค 1959 เป็น ‘ตัวแม่’ ยุค 2020 ที่ขอแซ่บทั้งเรื่องชีวิตคู่และบทเรียนชีวิตครัว. https://www.marketingoops.com/exclusive/maepranom-reimage-2020/

Brown, G. & Yule, G. (1983). Discourse analysis. Cambridge University Press.

Levinson, S. (1983). Pragmatics. Cambridge University Press.

Mey, J. (2001). Pragmatics: An introduction. Blackwell.

Schiffrin, D. (1987). Conversational analysis. In F. J. Newmeyer (Ed.), Language: The Socio-Cultural Content. Cambridge University Press.

We are social. (2022). Digital 2022 Thailand (February 2022) v01. https://datareportal.com/reports/digital-2022-thailand