ความหมายและองค์ประกอบของความไม่พึงพอใจในเรือนร่างของวัยรุ่น

Main Article Content

สุขิริณณ์ อามาตย์บัณฑิต
รังสรรค์ โฉมยา
กรรณิกา พันธ์ศรี
อารยา ปิยะกุล

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของวิจัยคือ เพื่อศึกษาความไม่พึงพอใจในเรือนร่างของวัยรุ่น ความหมายและ
องค์ประกอบของความไม่พึงพอใจในเรือนร่างของวัยรุ่น ผู้ให้ข้อมูลที่สำ คัญได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ จำ นวน
5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง เก็บข้อมูลด้วยวิธีการใช้
การสัมภาษณ์โดยนักวิจัยเพื่อสร้าง ข้อมูล โดยยังไม่มีข้อกำ หนดในการเข้าถึงฉันทามติหรือตัดสินใจ
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา โดยอาศัยหลักการตรวจสอบความถูกต้องด้วยเทคนิคการ
วิเคราะห์สามเส้า โดยเน้นการตรวจสอบสามเส้าด้านทฤษฎีเป็นหลัก ผลการศึกษาพบว่า (1) ความหมาย
และรูปลักษณ์ในเรือนร่างเกี่ยวข้องกับมิติต่างๆ ใน 4 มิติดังนี้ ได้แก่ การยอมรับทางสังคม สุขภาพ การ
ดำ เนินชีวิตของบุคคลและสัมพันธภาพ (2) ขอบเขตการรับรู้รูปลักษณ์ในเรือนร่างของบุคคล แบ่งออก
เป็น 4 มิติ ดังนี้ คือ มิติทางกายวิภาคและสรีระ มิติทางด้านความสมบูรณ์สวยงาม มิติทางด้านจิตใจ
และมิติทางด้านสุขภาพ (3) เจตคติต่อรูปลักษณ์ในเรือนร่างของบุคคล ประกอบด้วยองค์ประกอบด้าน
การรับรู้เชิงประเมินค่า การรับรู้ว่ารูปลักษณ์ในเรือนร่างมีประโยชน์หรือโทษ องค์ประกอบด้านความรู้สึก
ความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ และองค์ประกอบด้านความพร้อมในการแสดงพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง ใน 3
ลักษณะ คือ การป้องกัน การปรับเปลี่ยน และการแก้ไข (การรักษา) (4) การรับรู้รูปลักษณ์ในเรือนร่าง
ของบุคคล แบ่งการรับรู้รูปลักษณ์ของตนเองออกเป็นสองทิศทางได้แก่ การรับรับรู้ทางบวกและการรับ
รู้ทางลบ และ (5) การประเมินรูปลักษณ์ในเรือนร่างของบุคคล สามารถประเมินใน 3 ด้าน คือ ความพึง
พอใจส่วนตัว ผลกระทบทางด้านความรู้สึกและความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรือนร่างที่ถูกต้อง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Baker, J. H., Neyland, M. K. H., Thornton, L. M., Runfola, C. D., Larsson, H., Lichtenstein, P., &

Bulik, C. (2019). Body dissatisfaction in adolescent boys. American Psychological

Association Inc.

Creswell, J. W. (2016). 30 essential skills for the qualitative researcher. SAGE Publications Ltd.

Drisko, J., & Maschi, T. (2015). Content analysis. Oxford University Press.

Given, L. M. (2008). The Sage encyclopedia of qualitative research methods. SAGE

Publications Ltd.

Grogan, S. (2017). Body image: Understanding body dissatisfaction in men, women and

children. Routledge.

Harriger, J. A., & Thompson, K. J. (2012). Psychological consequences of obesity: Weight bias

and body image in overweight and obese youth. International Review of Psychiatry,

(3), 247-253. DOI: 10.3109/09540261.2012.678817

Heider, N., Spruyt, A., & Houwer, J. D. (2015). Implicit beliefs about ideal body image predict

body image dissatisfaction. Frontiers Media SA.

Howe, L., Trela-Larsen, L., Taylor, M., Heron, J., Munafo, M., & Taylor, A. (2017). Body mass

index, body dissatisfaction and adolescent smoking initiation. Drug and Alcohol

Dependence, 1(178),143-149. DOI:10.1016/j.drugalcdep.2017.04.008

Jugović, I. E. (2011). Body dissatisfaction in adolescence. Klinička psihologija, 4,1-2, 41-58.

Merriam-Webster. (2022). Merriam-Webster dictionary. Merriam-Webster.

Neuendorf, K. A. (2012). The content analysis guidebook. Sage Publications.

Ritchie, J., & Lewis, J. (2003). Qualitative research practice. SAGE Publications.

Savin-Baden, M., & Major, C.H. (2010). New approaches to qualitative research: wisdom and

uncertainty. Routledge.

Schreier, M. (2013). Qualitative content analysis in practice. SAGE Publications.

Thompson. (2012). Evaluating the effects of a peer-support model: Reducing negative body

esteem and disordered eating attitudes and behaviours in grade eight girls. The Journal

of Treatment & Prevention, 20(2). https://doi.org/10.1080/10640266.2012.653946

Walker, D. C., & Murray, A. D. (2012). Body image behaviors: Checking, fixing, and avoiding. In

T. F. Cash (Ed.), Encyclopedia of body image and human appearance (pp. 166–172).