การวิเคราะห์ชนิดกระบวนการของข้อคิดเห็นเกี่ยวกับภาษีบนทวิตเตอร์

Main Article Content

วิชชกานต์ เมธาวิริยะกุล
เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาหน้าที่ด้านการสื่อความคิดของภาษาในข้อคิดเห็นเกี่ยวกับภาษี ของคนไทยบนทวิตเตอร์ โดยวิเคราะห์เฉพาะชนิดกระบวนการ กลุ่มตัวอย่างข้อมูลคือ ข้อคิดเห็น เกี่ยวกับภาษีในระหว่างปี พ.ศ. 2562-2563 จำนวนทั้งหมด 1,447 ทวีต โดยใช้แนวคิดการวิเคราะห์ ชนิดกระบวนการของ Halliday and Matthiessen (2004, 2014) และ Klaisingto (2021a) เพื่อวิเคราะห์ คำกริยาในข้อความทวิตเตอร์ ผลการศึกษาพบชนิดกระบวนการที่เกี่ยวกับการกระทำมากที่สุด จำานวน 6,329 คำกริยา (ร้อยละ 59) เพราะข้อคิดเห็นเกี่ยวกับภาษีเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม โดยเฉพาะ การทำงานของรัฐบาล อันดับรองลงมาคือ กระบวนการที่สื่อความคิดความรู้สึก จำนวน 1,212 คำกริยา (ร้อยละ 11) กระบวนการที่สื่อการมีอยู่หรือเกิดขึ้น จำนวน 1,004 คำากริยา (ร้อยละ 9) กระบวนการ ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ จำนวน 991 คำกริยา (ร้อยละ 9) กระบวนการที่เกี่ยวกับการพูด จำานวน 624 คำกริยา (ร้อยละ 6) และกระบวนการที่สื่อพฤติกรรม จำนวน 620 คำกริยา (ร้อยละ 6) ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยได้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับภาษี 3 ประเด็น ได้แก่ 1) ภาษีกับประชาชน 2) ภาษี กับรัฐบาล และ 3) ภาษีกับข้าราชการ การวิเคราะห์ชนิดกระบวนการสื่อให้เห็นความคิด ประสบการณ์ ทัศนคติ หรืออุดมการณ์ของคนไทยที่มีต่อภาษีได

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จิิตติมา ลิ้มกระยารส. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของผู้มีเงินได้.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไทยพับลิก้า. (2559). เปิดฐานผู้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาล่าสุดปี’57 คนไทย 66 ล้านคน ยื่นภาษี10 ล้านคน มีแค่มนุษย์เงินเดือน 4 ล้านคนจ่าย เก็บได้ 3 แสน

ล้านบาท.https://thaipublica.org/2016/01/personal-income-tax-structure-29/

ธร ปีติดล. (2560). เปลี่ยนแปลงอนาคตประเทศไทยด้วยการปฏิรูปภาษี. https://www.the101.world/tax-reform-proposal/

ธวัช คาทองทิพย์. (2561). การชมในเฟซบุ๊กของชาวญี่ปุ่น. ํ วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา, 8(3), 131-144.

ปะการัง ชื่นจิตร. (2557). วัฒนธรรมในระบบภาษีของไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย]. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

พิจิตรา อินคาคร. (2551). มูลเหตุของการไม่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา: กรณีศึกษาผู้เสียภาษีที่อยู่ในเขตท้องที่ความรับผิดชอบของสานักงานสรรพากรพื้นที่

กรุงเทพมหานคร 10 ํ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคําแหง]. มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต. (2561). วาทกรรมบนเว็บไซต์เฟซบุ๊กระหว่างอาจารย์และนิสิตในกลุ่มรายวิชาภาษาศาสตร์เบื้องต้น. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร์, 10(1), 59-79.

มณทิรา ลือสระน้อย. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีในอําเภอเมือง

ศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ [การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มาริญญา นวลสะอาด. (2561). ปัญหาการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากสินค้าจับต้องไม่ได้ทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์].มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วิชชกานต์ เมธาวิริยะกุล เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต และศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์. (2563). การวิเคราะห์หัวข้อข่าวสรรพากร: มิติอภิหน้าที่. วารสารมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(6), 99-114.

ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับภาพตัวแทนทัวร์จีนในเว็บไซต์ พันทิป: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์.

วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 41(2), 23-44.

สมรักษ์ มุกดา. (2553). การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีศึกษา จังหวัดภูเก็ต [ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ภูเก็ต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2563). ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล. http://www.fpo.go.th/main/Statistic-Database.aspx

อธิภัทร มุทิตาเจริญ. (2561). มองย้อน ‘ภาษีไทย’ จากข่าวฟ่าน ปิงปิง. https://www.chula.ac.th/cuinside/13686/

Au-on, S., Trakulkasemsuk, W. & Vungthong, S. (2017). Who is burning down rohingya villages?the portrayal of Rohingya in media

through transitivity analysis. REFLections, 24, 20-35.

BBC. (2021). หนี้สาธารณะ: นักเศรษฐศาสตร์เห็นพ้องเพิ่มเพดานหนี้ แต่รัฐบาลต้องใช้เงินให้เกิดประโยชน์. https://www.bbc.com/thai/thailand-

Bräutigam, D. A. (2008). Introduction: taxation and state-building in developing countries. In Bräutigam, D. A., Fjeldstad, O. H. and

Moore, M. (Eds.), Taxation and state- building in developing countries: Capacity and consent (pp. 1-33). Cambridge University

Press.

Canning, P. (2021). Writing up or writing off crimes of domestic violence? Language and Law /Linguagem e Direito, 8(2), 48-69.

El Houssine, E. F. (2022). Transitivity analysis of newspapers’ headlines depicting the Russian attack on Ukraine. International Journal of

Linguistics and Translation Studies, 3(2),72-85.

Guo, Y. (2022). Transitivity analysis of Chinese leader’s new year greeting in 2021 based on the systemic functional grammar. Journal of

Higher Education Research, 3(3), 319-322.

Halliday, M.A.K., & Matthiessen, C.M.I.M. (2004). An introduction to functional grammar (3rd ed). Hodder Arnold.

Halliday, M.A.K., & Matthiessen, C.M.I.M. (2014). Halliday’s introduction to functional grammar (4th ed). Routledge.

Hui, M. (2020). People in Thailand distrustful of Twitter are flocking to a crypto social network instead. https://qz.com/1860804/thai-

users-ditch-twitter-for-crypto-social-network-minds/

Hutchinson, L. (2017). Writing to have no face: The orientation of anonymity in Twitter.

In Walls, D. M. and Vie, S. (Eds.), Social writing/social media: publics, presentations, and pedagogies (pp. 179-207). University Press of

Colorado.

Klaisingto, P. (2021a). A transitivity analysis of the experience of depression as expressed on Thai Twitter. Journal of Liberal Arts, Prince

of Songkla University, 13(1), 188-215.

Klaisingto, P. (2021b). Linguistic indicators of negative-perspective language in women’s depressive disorder. Humanities, Arts and

Social Sciences Studies, 21(3), 467-476.

Khorina, M. (2017). Process types in mechanical engineering texts: Transitivity analysis.Linguistics and English Language Teaching

Journal, 8(2), 15-22.

Khwaja, M. S. & Iyer, I. (2014). Revenue potential, tax space, and tax gap: A comparative analysis. The World Bank.

Linh, N. T. N. (2021). Transitivity analysis of the Vietnamese economic contracts from the perspective of systemic functional grammar.

VNU Journal of Foreign Studies, 37(6),79-91.

Liu, M. (2021). A transitivity analysis of the courtroom discourse: A case study of Jodi Arias trial.International Journal of Linguistics,

Literature and Translation, 4(5), 253-262.

Liu, Z. & Liu, H. (2021). The construction of China’s national image from transitivity perspective -A case study of fighting COVID-19:

China in action. Theory and Practice in Language Studies, 11(11), 1421-1427.

Maria, A. & Wayan, S. (2021). Transitivity analysis of EFL students’ narrative text in vocational high school. Jurnal Pendidikan Bahasa

Inggris Undiksha, 9(3), 298-307.

OECD. (2019a). Public comments on the discussion draft on “What is driving tax morale? https:// www.oecd.org/tax/tax-

global/compilation-public-comments-what-is-driving-tax-morale.pdf

OECD. (2019b). Tax morale: What drives people and businesses to pay tax? https://www.oecd-ilibrary.org/sites/552896d8-

en/index.html?itemId=/content/ component/552896d8-en

Patpong, P. (2006). A systemic functional interpretation of Thai grammar: An exploration of Thai narrative discourse [Doctoral

dissertation, Macquarie University]. Macquarie University.

Patpong, P. (2008). A corpus-based study of Thai persuasive texts: A transitivity analysis of talisman advertisements. in E. Steiner, & S.

Neumann (Eds.), Proceedings of the 19th European Systemic Functional Linguistics Conference and Workshop.

Saarbrücken, Germany.

Patpong, P. (2009). Thai persuasive discourse: a systemic functional approach to an analysis of amulet advertisements. Revista

Alicantina de Estudios Ingleses, 22, 195-217.

Peddinti, S. T., Ross, K. W. & Cappos, J. (2017). User anonymity on Twitter. IEEE Security & Privacy, 15(3), 84-87.

Pugsee, P. & Niyomvanich, M. (2015). Sentiment analysis of food recipe comments. ECTI Transactions on Computer and Information

Technology (ECTI-CIT), 9(2), 182-193.

Smyth, A. H. (1907). The writings of Benjamin Franklin, Vol. X (1789-1790). Macmillan.

The World Bank. (2022). Tax revenue (% of GDP) - Thailand. https://data.worldbank.org/indicator/GC.TAX.TOTL.GD.ZS?

end=2019&locations=TH&most_recent_value_desc=false&start=1972&view=chart

van Dijk, T. A. (1998) Ideology: A multidisciplinary approach. Sage.

Xiang, Q. (2022). Transitivity analysis of Joe Biden’s inaugural address from the perspective of systemic functional grammar. Theory and

Practice in Language Studies, 12(1), 165-169.

Yiemkuntitavorn, S. (2005). Thai transitivity: A functional grammar analysis [Doctoral thesis, University of Tasmania]. University of

Tasmania.

Zappavigna, M. (2011). Ambient affiliation: A linguistic perspective on Twitter. New Media & Society, 13(5), 788-806.