ผลกระทบของคุณภาพชีวิตที่มีต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาระดับการพัฒนาอย่างยั่งยืนของผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อวิเคราะห์ผลของปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21 โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุในภาคะวันออกเฉียงเหนือ จำ นวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิตโดยรวมและเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย ด้านร่างกาย (ค่าเฉลี่ย 3.87) ด้านจิตใจ (ค่าเฉลี่ย 4.07) ด้านการพัฒนาตนเอง (ค่าเฉลี่ย 3.89)ด้านสิทธิเสรีภาพ (ค่าเฉลี่ย 3.95) และด้านการรวมกลุ่มทางสังคม (ค่าเฉลี่ย 4.05) 2) ผู้สูงอายุ การพัฒนาอย่างยั่งยืนโดยรวมและเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย ด้านสังคม (ค่าเฉลี่ย 4.07) ด้านศรษฐกิจ(ค่าเฉลี่ย 3.91) ด้านสุขภาพ (ค่าเฉลี่ย 3.85) ด้านสภาพแวดล้อม (ค่าเฉลี่ย 4.00) และด้านเทคโนโลยี(ค่าเฉลี่ย 4.03) และ 3) คุณภาพชีวิต ประกอบด้วย ด้านสิทธิเสรีภาพ (β = 0.329) ด้านการพัฒนาตนเอง (β = 0.222)ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม (β = 0.189) ด้านร่างกาย (β = 0.188) ด้านจิตใจ(β = 0.103) ส่งผลในเชิงบวกต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21 โดยสามารถอธิบายการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ร้อยละ 58.10
Article Details
References
กมลพร กัลยาณมิตร. (2565). การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เปลี่ยนภาระเป็นพลัง ร่วมพัฒนาสังคม.
วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 7(2), 31-46.
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2563). สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563.
https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/335.
จิราพร วรวงศ์ ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง ดาวรุวรรณ ถวิลการ และพรพรรณ มนสัจจกุล. (2563). การพัฒนา
ชุมชนเป็นมิตรกับผู้สูงอายุ: โรงเรียนผู้สูงอายุตำ บลนาพู่ อำ เภอเพ็ญ อุดรธานี. วารสาร
พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 30(2), 150-163.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2563). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่
. บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี, หสม.
นัสมล บุตรวิเศษ และอุปริฏฐา อินทรสาด. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ: กรณี
ศึกษาอำ เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
สุวรรณภูมิ ศูนย์พระนครศรีอยุธยา.
มานิตย์ บุบผาสุข เพ็ญสินี พนาสิริวงศ์ และสุวิชา เข็มเพ็ชร์. (2564). การเตรียมความพร้อมของศูนย์ออก
กำลังกาย วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อรองรับสังคม
ผู้สูงอายุ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 40(4), 55-69.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). (2564). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
สุวิมล ห้วงเกษม ธนิก คุณเมธีกุล และธีรศักดิ์ อินทรมาตย์. (2565). การมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในการ
จัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต: กรณีศึกษาโรงเรียน
ผู้สูงอายุ จังหวัดระยอง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
(3), 148-162.
สำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566 - 2570. สำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). แผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 - 2565
(ฉบับทบทวน). สำ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
เอกพันธ์ คำ ภีระ อัมพร ยานะ และ อรัญญา นามวงศ์. (2563). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตของ
ผู้สูงอายุในเขตอำ เภอเมือง จังหวัดพะเยา. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ, 7(2), 44-57.
Black, K. (2006). Business statistics for contemporary decision making (4th ed). John Wiley and
Sons.
Krejcie, R. V., and Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
Likert, R. (1967). The human organization: Its management and value. McGraw-Hill.
World Health Organization. (2018). Regional framework on healthy ageing (2018-2022).
Regional Office for South-East Asia: World Health Organization.