การพัฒนานโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่นในบริบทของระบบเศรษฐกิจ หมุนเวียนทางการเกษตร: กรณีศึกษา บ้านจำปา หมู่ที่ 10 ตำ บลเชียงยืน อำ เภอ เมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธาน

Main Article Content

ชุติพงศ์ คงสันเทียะ
ณัฏฐานุช เมฆรา
สุทธิดา จันทร์ดวง

บทคัดย่อ

             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์(1) เพื่อออกแบบระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนทางการเกษตรระหว่าง
การทำ นาข้าวแบบปลอดภัยกับการเพาะเห็ดนางฟ้าและ(2) เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น
ของระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนทางการเกษตรของชุมชน กรณีศึกษาบ้านจำ ปา หมู่ที่ 10 ตำ บลเชียงยืน
อำ เภอเมืองอุดรธานีจังหวัดอุดรธานีเป็นรูปแบบการวิจัยเชิงพัฒนาหลายขั้นตอน ใช้วิธีการเก็บข้อมูล
ด้วยการสัมภาษณ์การสนทนากลุ่ม การสังเกตการณ์และการสำ รวจ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลคือ
แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และใช้กระบวนการวิเคราะห์SWOT and TOWS 
            ผลการศึกษาพบว่า การออกแบบระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนระหว่างการทำ นาข้าวและการเพาะ
เห็ดนางฟ้าสามารถทำ ได้โดยการนำ กากเหลือมาใช้ให้เกิดประโยชน์ใหม่ ทำ ให้ลดรายจ่ายและเกิดการ
พึ่งพิงตนเองในชุมชน ทั้งนี้ได้มีการพัฒนาแผนนโยบายสาธารณะออกเป็น 4ระยะ ได้แก่ (1) ระยะความ
เข้มเข็งของกลุ่มสัมมาชีพในชุมชน (2)ระยะการสร้างนวัตกรรมระบบหมุนเวียนทางการเกษตรในชุมชน
(3) ระยะการสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรภายนอกชุมชนอย่างบูรณาการ
และ (4) ระยะการขยายผลสู่ต้นแบบนวัตกรรมระบบหมุนเวียนทางการเกษตร ข้อเสนอแนะคือ ควรมี
การทดสอบประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนดังกล่าวกับเกษตรกรรายอื่นๆ และต่อยอดสู่การ
สร้างระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนทางการเกษตรแบบองค์รวมทั้งชุมชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษณา กาเผือก และ สินธุ์สโรบล. (2554). การพัฒนานโยบายสาธารณะท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วมด้านกิจกรรมทางกายสำ หรับผู้สูงอายุ: บทสังเคราะห์กระบวนการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

รายงานการประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำ ปี พ.ศ. 2554 “การพัฒนาอนาคตไทย: ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการประเทศที่ยั่งยืน”. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.429-434.

บริษัท เอสซีจีเคมิคอลส์จำ กัด. (2561). ทำ ไมต้องเศรษฐกิจหมุนเวียน.https://www.scg.com/sustainability /circular-economy/scg-circular-way/

พิรุฬห์ศิริทองคำ ,วิลาวัลย์บุญประกอบ, นาวิน พรมใจสาและรัชนีมิตกิตติ. (2561).รูปแบบการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพระดับท้องถิ่น ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย.วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 11(3), 398-408.

เลิศลักษณ์เจริญสมบัติ. (2564). การประยุกต์ใช้แนวคิดระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนกับวิสาหกิจชุมชน.วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 24(1), 145-155.

สัญญา เคณาภูมิ. (2558). แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลของวิสาหกิจชุมชนในเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 2(3), 68-85.

สุจินต์สิมารักษ์และ สุเกสินีสุภธีระ. (2530). การประเมินชนบทสภาวะชนบทแบบเร่งด่วน. โครงการวิจัยระบบการทำ ฟาร์ม มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Oksana, S. & Agnieszka, O., (2019). Green logistics and circular economy. TransportationResearch Procidia, 39, 471-479.

The Organizationfor the Economic Co-operationand Development. (2017). Measuring distance to the SDG target. The Organization for the Economic Co-operation and Development (OECD).