การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์

Main Article Content

ปัทมา พุทธแสน

บทคัดย่อ

การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์ ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์ และ 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์ ผลการศึกษาพบว่า
  1. สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมมีค่า PNI มีค่าเฉลี่ย 0.17  และและการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โดยภาพรวมมีค่า PNI มีค่าเฉลี่ย 0.21

  2. การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์ หรือ เรียกว่า " LAEMTHONG PHADUNGWIT HEALTH SCHOOL MODEL" ประกอบด้วย 1) แนวคิด และหลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีการดำเนินงาน 5 หลัก ได้แก่ (1) ผู้เรียนเป็นสุข (2) โรงเรียนเป็นสุข (3) สภาพแวดล้อมเป็นสุข (4) ครอบครัวเป็นสุข และ (5) ชุมชนเป็นสุข 4) การประเมินผล และ 5) เงื่อนไขความสำเร็จ

  3. การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยบูรณาการการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะ โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์ มีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้า

และพัสดุภัณฑ์.

ชูชาติ แปลงล้วน. (2551). การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ,

(7): 379-393.

ประเวศ วะสี. (2543). บนเส้นทางชีวิตขบวนการแพทยชนบทในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2542). แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116/ตอนที่ 74 ก/หน้า 1/19 สิงหาคม 2542.

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2556). การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

มูลนิธิสถาบันวิจัยระบบการศึกษา. (2554). โรงเรียนสุขภาวะ. แหล่งที่มา: http://www.ires.or.th/?p=1245

โรงเรียนแหลมทองผดุงวิทย์. (2564). ข้อมูลพื้นฐาน. ชัยภูมิ: ฝ่ายบริหาร.

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบราชการ. (2553). คู่มือการบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อเสริมสร้างความเป็น

เลิศในการปฏิบัติงานราชการของหน่วยงานภาครัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบ

ราชการ (ก.พ.ร.).

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: คุรุ

สภา.

สุชาติ โสมประยูร และเออัชฌา วัฒนบุรานนท์. (2542). การบริหารงานสุขศึกษาในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

สรัญญา โภคาลัย. (2560). 10 นักสร้างสรรค์ ประสบการณ์งานสร้างสุข. กรุงเทพฯ: หนังสือดีวัน.

อัมไพ อุตตาธรรม. (2562). การพัฒนารูปแบบการบริหารการเสริมสร้างคุณธรรมนักเรียนตามพระบรมราโชบายสำหรับ

โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

อำไพ นงค์เยาว์. (2560). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 10(1): 132 - 143.

Eisner, E. (1976). Educational connoisseurship and criticism : Their form and function in education

evaluation. The Journal of Aesthe Tic Education, 10(3): 135-140.

Guskey TR. (2000). Evalution professional development. California: Asage.

Madusa GF, Seriven MS, Stuffebeam DL. (1983). Evalution models viewpoints on

educational and humen services evalutions. (8th ed). Boston: Khunver-Nijhoft Pubishing.