บรรยากาศองค์กรที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่สังกัดสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

Main Article Content

จุรีวัลย์ ภักดีวุฒิ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับบรรยากาศองค์กร สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2) ศึกษาระดับความผูกพันองค์กรของเจ้าหน้าที่สังกัดสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน  3) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กร ของเจ้าหน้าที่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์และผลกระทบของบรรยากาศองค์กรที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ ผลการวิจัยพบว่า สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มีบรรยากาศองค์กร โดยรวม อยู่ในระดับมาก  เจ้าหน้าที่มีความผูกพันต่อองค์กรโดยรวมในระดับมาก  เจ้าหน้าที่ที่มีข้อมูลส่วนบุคคลต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน  บรรยากาศองค์กรกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่มีความสัมพันธ์เชิงบวก บรรยากาศองค์กรด้านโครงสร้างองค์กรมีผลกระทบต่อความผูกพันของเจ้าหน้าที่มากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฉวีวรรณ เอี่ยมพญา. (2559). บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของครู ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชาคริต ศรีสกุล . (2560) . ตัวแบบสมการโครงสร้างปัจจัยด้านบรรยากาศในองค์กร ที่มีผลต่อความ ผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงแรมในเครือดุสิต อินเตอร์เนชั่นแนล. รายงานการวิจัย(ทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยดุสิตธานี). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยดุสิตธานี
ธนัชพร เลขวัต และรัชนีวรรณ วนิชย์ถนอม (2560) . ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าอองค์ประกอบ การรับรู้บรรยากาศองค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ โดยมีความสุขในการทำงานเป็นตัวแปรสื่อของข้าราชการในหน่วยงานราชการแห่งหนึ่ง. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 43(1) ,99-118.
บัญชา นิ่มประเสริฐ. (2542). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาการอุดมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พรรณภา อนันตะคู, จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย และ พิชญาภา ยืนยาว . (2563) . บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีมในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน ภาคกลาง. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 17(77),เมษายน-มิถุนายน 2563: 1-10.
ภูรุจ จันทร์สว่าง . (2560) . การบริหารจัดการที่มีผลต่อความผูกพันองค์กรของพนักงาน
มหาวิทยาลัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ . มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ยุภา กิจส่งเสริมกุล และ ดวงใจ ชนะสิทธิ์ (2561) . ความผูกพันต่อองค์การของครูและผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 . วารสารศิลปากรศึกษาศาตร์วิจัย,ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561 ): 321-337.
รพีพัฒน์ ศรีศิลารักษ์ และ ประสพชัย พสุนนท์. (2559). การรับรู้บรรยากาศองค์การและพฤติกรรม
การเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานประจำสังกัดสายทรัพยากรบุคคลและกำกับกิจกรรมองค์การ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) . วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ . ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559). 61-83.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). ความรู้พื้นฐานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร.
สุจิราวัฒน์ รัชตพงศ์บวร และ นุชนรา รัตนศิระประภา (2562) .บรรยากาศองค์การกับความพึงพอใจ
ในการปฏิบัติงานของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(1). 678-689.
อนันต์ชัย คงจันทร์ .(2559). ความผูกพันต่องค์กร (Organizational Commitment). จุฬาลงกรณ์
ธุรกิจปริทัศน์.ปีที่ 9 ฉบับที่ 34 (กันยายน 2559).หน้า 34-41.
Allen & Meyer. (1993). “Organizational commitment: Evidence of career stage effect.”
Journal of Business Research. 26(1): 17.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test (5th ed.). New York: Harper Collins.
Steve, Kelner, B. (1995). “Managing Climate of TQM Organization.” Center for Quality of Management Journal. 12, 6. 41-55.
Stringer, R. A. (2002). Leadership and Organizational Climate: the Cloud Chamber Effect. Prentice Hall, New Jersey: Upper saddle River.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis, 3rd Ed. New York: Harper and Row Publications