This is an outdated version published on 2022-04-30. Read the most recent version.
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น Guidelines for organizing learning in dancing activities for lower primary students
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระนาฏศิลป์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนต้น มีความท้าทายและมีข้อจำกัดบางประการที่ผู้สอนต้องคำนึงถึงทั้งหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการประเมินการเรียนรู้ นักเรียนมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา นักเรียนบางคนสามารถเรียนรู้ได้ดีในทุกสภาวะแวดล้อม แต่บางคนจำเป็นต้องใช้หลากเทคนิคหลายวิธีเพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์เดียวกัน บทความนี้ผู้เขียนมีความมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากประสบการณ์สอนสาระนาฏศิลป์ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการแบ่งปันประสบการณ์นี้จะช่วยพัฒนาและแสวงหาหนทางในการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนในยุคเปลี่ยนผ่านได้
คำสำคัญ: นาฏศิลป์ ประถมศึกษา การเรียนรู้
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ.(2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จำกัด.
ชวลิต ชูกำแพง. (2550). การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บังอร อนุเมธางกุร. (2542). พฤติกรรมการสอนนาฏศิลป์. สงขลา : สถาบันราชภัฏสงขลานครินทร์.
เรณู โกศินานนท์. (2545). นาฏศิลป์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สุมิตร เทพวงษ์. (2541). นาฏศิลป์ไทยนาฏศิลป์สำหรับครูประถมและมัธยม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สดใส พันธุมโกมล. (2546). ศิลปะการละครกับเยาวชน. กรุงเทพฯ : อักษรศาสตร์พิจารณ์.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.(2539) การแสดงท่าทางนาฏศิลป์ประกอบเพลงภาษา
ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.
____________. (2541). เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีและนาฏศิลป์เรื่อง การแสดงท่าทางนาฏศิลป์ระดับประถมศึกษาเอกสาร ศน. 45/2541. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยืดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. กรุงเทพฯ: เทียนวัฒนา พริ้นติ้ง.
อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และจาตุรงค์ มนตรีศาสตร์. (2525). นาฏศิลป์เพื่อการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
อมรา กล่ำเจริญ. (2535). วิธีสอนนาฏศิลป์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นตริ้ง เฮาส์.
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ.(2557). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จำกัด.
ชวลิต ชูกำแพง. (2550). การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บังอร อนุเมธางกุร. (2542). พฤติกรรมการสอนนาฏศิลป์. สงขลา : สถาบันราชภัฏสงขลานครินทร์.
เรณู โกศินานนท์. (2545). นาฏศิลป์ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สุมิตร เทพวงษ์. (2541). นาฏศิลป์ไทยนาฏศิลป์สำหรับครูประถมและมัธยม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สดใส พันธุมโกมล. (2546). ศิลปะการละครกับเยาวชน. กรุงเทพฯ : อักษรศาสตร์พิจารณ์.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.(2539) การแสดงท่าทางนาฏศิลป์ประกอบเพลงภาษา
ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.
____________. (2541). เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีและนาฏศิลป์เรื่อง การแสดงท่าทางนาฏศิลป์ระดับประถมศึกษาเอกสาร ศน. 45/2541. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยืดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. กรุงเทพฯ: เทียนวัฒนา พริ้นติ้ง.
อาภรณ์ มนตรีศาสตร์ และจาตุรงค์ มนตรีศาสตร์. (2525). นาฏศิลป์เพื่อการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
อมรา กล่ำเจริญ. (2535). วิธีสอนนาฏศิลป์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นตริ้ง เฮาส์.