แนวทางการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนในเขตจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

Main Article Content

วัฒน์จิรชัย เวชชนินนาท

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์1) เพื่อประมวลผลข้อมูลการดำเนินงานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2) วิเคราะห์แนวทางการพัฒนาของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา  เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้นำกลุ่มวิสาหกิจ และสมาชิกของวิสาหกิจชุมชน จาก 9 แห่ง จำนวน 18 คน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา พบว่า วิสาหกิจชุมชนและกลุ่มนักศึกษาได้ร่วมดำเนินการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนทั้งหมด 4 ด้านได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิต และช่องทางการจัดจำหน่าย แนวทางการพัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการกำหนดแนวทางการพัฒนาตามกลยุทธ์ส่วนผสมทางการตลาดได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การสื่อสารการตลาด และการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อทำให้เกิดเครือข่ายที่จะพัฒนาให้วิสาหกิจชุมชนเกิดความยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกพร อภิชิตวงศ์ชัย,ดวงตะวัน กิจจันทร์ทึก,ธนากร พรมนิล,พัฒนวดี สมภักดี,อนุชิตา แปลเพ็ง และ
ภาณุวัฒน์ ศศิมณฑลกานต์. (2563). การศึกษาการแปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์เส้นพาสต้า
จากมันเทศ. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
กรุงเทพธุรกิจ . (2563). ส่องสังคมไทยหลัง'โควิด-19’ เราเรียนรู้อะไรบ้าง . สืบค้น 15 ตุลาคม 2563
จาก http://www.bangkokbiznews.com/news
กรมการส่งเสริมการเกษตร. (2563). ระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน. กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. สืบค้น 27
ต.ค. 2563 จากhttp://smce.doae.go.th/smce1/report/select_report_smce.php?report_id=17
โชฒกามาศ พลศรี, ศุภกัญญา เกษมสุข และ รัตนภรณ์ แซ่ลี. (2563). การพัฒนาศักยภาพเพื่อเพิ่มผลิตภาพ
ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนอาหารแปรรูปกรณีศึกษากลุ่มผู้เลี้ยงปลาตะเพียนบ้านคำครตา อำเภอ
ทรายมูล จังหวัดยโสธร. Graduate School Journal Chiang Rai Rajabhat University,
13(2), 98.
ดรุณี พิลาดิษฐ์, ปุณยนุช ศิริเพชร, ธีรศักดิ์ มะยุโรวาท, ภูมินทร์ จันทึก และชาคริต ธานีกุล. (2563).
การศึกษาโครงการการแปรรูปปลานิล ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงปลานิล บ้านเมืองหมีใหญ่
ตำบลเมืองหมี อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ธนพล ยอดแก้ว, ศิริวรรณ ลุนลา, จุฬารัตน์ ครองสี,มาลิณี ขันเหง้า,พลอยนภา คำหารพล, กวินนา แสนกอง
และนายชนาวีร์ แท่งทอง. (2563). การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์บาธบอมบ์จากน้ำผึ้งกลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชน ตำบลหนองบัวใต้ อำเภอศรีบุญเรือง จังหวัดหนองบัวลำภู. อุดรธานี : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี.
นัชชา พวงแก้ว, มัทนา สุขัน, อลิชา อุประ, สุทธิลักษณ์ อินทรศรี, อนงค์นาถ ไชยนิลวรรณ และทรงทรรศน์
ยาบัญดิษฐ์. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเทมเป้แปรรูปจากถั่วเหลือง. อุดรธานี :
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ปัทมา สารสุข. (2561). แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
(OTOP) จังหวัดนนทบุรี. รายงานการประชุม Graduate School Conference. 1 (1), 590-599.
ปิยะธิดา บุญนำ, สุพัตรา กู่แก้ว, นวพล ปารีพันธ์,อาริสา โลตุฤทธิ์, สุดารัตน์ คนดี, และThai Manh Choung.
(2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลนิคมสงเคราะห์ อำเภอเมือง
จังหวัดอุดรธานี. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
พิมลภัทร พาโฮม, รชาดา ถนอมพลาดิศัย, ลักขณา กระสี, ธนากร คำวิเลศ, อนุชิดา สิทธิธรรม, แพรวนภา ศรี
สร้อยพร้าว, เจษฎา สร้อยโว และ วราภรณ์ วงศ์สะอาด. (2563). การดำเนินงานแนวทางในการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเปลือกกล้วย อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย. อุดรธานี : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุดรธานี.
ภัทรพล ไชยหงษา, วิภา ปัญญากุล, นลิน ชะนะบุญ, นริศรา พรหมหิตย์ และพรรณราย พิทักษ์กุล. (2563).
การพัฒนาแปรรูปข้าวฮางเพื่อเป็นนวัตกรรมอาหาร. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
มานาพร โชปัญญา, ลลิตา นิกรกุล, กิติยา อินตะฟอง, สุภาภรณ์ ภูแดงงาม, ธิดารัตน์ ประสีระวิเส, นาตยา
พรมวงษ์, นันทพล รูปสม, มินตรา โสมัสสา. (2563). การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์นมจากมะพร้าว
เพื่อให้เกิดความแปลกใหม่และเพิ่มมูลค่าทางวัตถุดิบ. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
รัชนิกร กุสลานนท์, จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง, & ทรงวุฒิ เอกวุฒิวงศา. (2557). การออกแบบศิลปหัตถกรรม
ผ้าพื้นถิ่นจังหวัดสกลนครเพื่อประยุกต์สู่แนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์. Art and Architecture
Journal Naresuan University, 5(1), 87-114.
ศศิพร อิ่มสะอาด, ธนาพร บัวดี, ธันย์ชนก สุวรรณ์ , รัตนากร จัตตุวัฒน์ , ทรงวุธิ มะโนโปธาร์ ,
วรรณธิดา ทรัพสิน , คีตภัทร แสงรัตน์, บุญญากร ทิพย์ปัญญา , นันทิกานต์ อุคำ
และอนุศักดิ์ รัตนกนกกาญจน์. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปแผ่นแป้งเวียดนามจากเม็ดขนุนเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบทางการเกษตร. อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
สัญญา เคณาภูมิ. (2558). แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลของวิสาหกิจชุมชนในเขตพื้นที่จังหวัด
มหาสารคาม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 2 (3), 68-85
อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. (2560). “วิสาหกิจชุมชน” ปฏิทรรศน์ในการแข่งขันทางธุรกิจ. วารสารมหาวิทยาลัย
ศิลปากร ฉบับภาษาไทย, 37(2), หน้าที่ 131-150.