กระบวนทัศน์ใหม่: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การบริการสังคม สำหรับนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การบริการสังคม สำหรับนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ 2) ศึกษากระบวนการการมีส่วนร่วมตามทฤษฎี experiential learning โดยใช้ขั้นตอน PAR 3) ศึกษาความพึงพอใจของครูวิทยาศาสตร์จากการการบริการสังคม กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ชั้นปีที่ 2 และ 3 รวมทั้งหมด 57 คน โดยวิธีแบบเจาะจงเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ผู้วิจัยต้องการส่งเสริมและพัฒนาการนำความรู้ในการเรียนการสอนในห้องเรียนสู่การบริการสังคม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิธีการอธิบายปรากฏการณ์ผ่านการเขียนสะท้อนคิดของผู้เรียน การบันทึกภาพผ่านกล้องโทรศัพท์ การสัมมนากลุ่มย่อย สรุปและถอดบทเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การบริการสังคมสำหรับนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ 2) แบบสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ 3) แบบสัมภาษณ์การทำงานเป็นทีมการวางแผนดำเนินงานและการทำงานเป็นทีม และ4) แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น พบว่า นักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ที่ผ่านกิจกรรมโครงการบริการสังคม ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ (Preparation) ขั้นลงมือปฏิบัติ (Action) และขั้นสะท้อนคิด (Reflection) นักศึกษาครูได้รับความรู้และประสบการณ์ตรง การทำงานเป็นทีม กระบวนการทำงานกลุ่ม ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร และการส่งเสริมคุณลักษณะของความเป็นครูผ่านการบริการสังคมเน้นการปฏิบัติ การเชื่อมโยงวิชาเอกและวิชาชีพครูเพื่อนำไปประยุกต์ในวิชาชีพครูต่อไป และความพึงพอใจเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การบริการสังคม สำหรับนักศึกษาครูวิทยาศาสตร์ ภาพรวมมีค่าเท่ากับ 4.26(0.47) อยู่ในระดับมากที่สุด
Article Details
References
การต์รวี บุญญานุสิทธิ์. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมจิตแห่งความเคารพและจิตแห่ง
จริยธรรม ตามแนวคิดการเรียนการสอนโดยการบริการสังคม สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (ปริญญา
นิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด: การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.
จุรี ทัพวงษ์ และวิมลรัตน์ จตุรานนท์. (2552). การประยุกต์ใช้เทคนิคการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคมในการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา. วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม. 5(1-2):67-80.
ฤทัย จงสฤษดิ์. (2551). การออกแบบและพัฒนากิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991)จำกัด.
ณัฐมน พันธุ์ชาตรี. (2559). การสร้างเสริมคุณลักษณะความเป็นครูของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ.
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ
บริหารการศึกษาภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหวิทยาลัย.
ธนีนาฎ ณ สุนทร. (2561). USC - Service Learning Model: สู่การพัฒนานักศึกษาในยุค Thailand 4.0. วารสารครุ
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 46(3): 325-344.
ธัญญาพร ก่องขันธ์ และคณะ. (2562). การพัฒนาความสามารถในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญและจิตอาสา โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบริการสังคม (Service learning) : กรณีศึกษา สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 1673: 50-57.
ธัญลักษณ์ ธนปกิจ. (2559). การจัดการสื่อสารเพื่อการสร้างนวัตกรรมจากการเรียนรู้นอกห้องเรียน มหาวิทยาลัย
บรรษัทในประเทศไทย. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมนิด้า. 3(2): 63-80.
ธีรพันธ์ เชิญรัมย์. (2563). องค์การแห่งการเรียนรู้: การเรียนรู้จากการปฏิบัติ. วารสารวิจยวิชาการ. 3(1): 185-196.
เนาวนิตย์ สงคราม. (2557). การศึกษานอกสถานที่และการศึกษานอกสถานที่เสมือนเพื่อการเรียนรู้เชิงรุก.
กรุงเทพฯ: บริษัท วี. พริ้นท์ (1991) จำกัด.
ปวีณา งามประภาสม. (2555). การเพิ่มศักยภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยกระบวนการกลุ่ม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 1(1): 58-66.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้โดยการบริการสังคม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์. 2(1): 9-18.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยการบริการสังคมสาหรับนิสิตครูวิทยาศาสตร์.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 9(19): 30-39
ประสาท เนืองเฉลิม. (2559). การปฏิรูปตนเองสู่การเป็นครูมืออาชีพ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(1):
66-74.
ปาริชาติ ประเสริฐสังข์และธีรศาสตร์ คณาศรี. (2560). การบริการสังคมกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ตามแนวสะเต็ม ศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 11(2): 7-16.
พวงพยอม ชิดทอง และ ปวีณา โฆสิโต. (2560). บทบาทของอาจารย์ในการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 สำหรับบัณฑติไทย. พิฆเนศวร์สาร. 13(1): 1-11.
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). (2562). แหล่งสืบค้น
http://www.sru.ac.th/files/20190306-goverment-plan-university-20-year-upadte.pdf
สืบค้นวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562.
ราชบัณฑิตสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
วัลนิกา ฉลากบาง. (2559). จิตวิญญาณความเป็นครู: คุณลักษณะสำคัญของครูมืออาชีพ. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม.6(2): 123-128.
ศศิธร บัวทอง. (2560). การวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. Veridian E-Journal, Silpakorn
University. 10(2): 1856-1867.
สุคนธ์ สินธพานนท์. (2560). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่...เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุนิสา ทรงอยู่ และคณะ. (2560). ผลของโปรแกรมพัฒนาจิตอาสาตามแนวคิดการเรียนรู้จากการให้บริการสังคมของ
นักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 1125: 153-163.
สุสัณหา ยิ้มแย้ม และคณะ. (2558). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21. วารสารพยาบาลสาร. 42(ฉบับที่: พิเศษ1): 129-140.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. แหล่งสืบค้นจาก
http://backoffice.onec.go.th/uploaded/Outstand/2017-EdPlan60-79.pdf
สืบค้นวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). สรุปประเด็นแผนการปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน สู่การ
พัฒนาการศึกษา. แหล่งสืบค้น https://www.pathailand.com/upload/forum/ebook_11d.pdf. สืบค้นวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562.
อรนุช ลิมตศิริ. (2560). การศึกษานอกห้องเรียนเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. Veridian E-
Journal, Silpakorn University. 10(3): 1643-1658.
Bonk, C. J., & Graham, C. R. (2004). Handbook of blended learning: Global perspectives. San Francisco: Pfeiffer Publishing.
Bruner, J. S. (1966). Toward a theory of instruction. Cambridge, MA: Harvard University.
Kolb, D.A. (1984). Experience as the Source of Learning and Development. New Jersey: Prentice Hall.
McGill, I. and Beaty, L. (1995). Action Learning. London: Kokan Page.
Piajet. (1962). The Origins of intelligence in the Children. New Yaek: W.W.Norton.
Prasertsang, P., Nuangchalerm, P. and Pumipuntu, C. (2013). Service Learning and its Influenced to
Pre-service Teachers: Social Responsibility and Self-efficacy Study. International Education
Studies. 6(7): 144-149.
Torrance, E.P. and R.E. Myers. (1962). CreativeLearning and Teaching. New York :Good, Mead and Company.
The Science Education Resource Center. (2018). What is service-learning?. Retrieved from
https://serc.carleton.edu/introgeo/service/what.html.
Ryan,R.M and Deci,E.L. (2000). “Intrinsic and extrinsic motivations: Class definitions and new directions.”
Contemporary educational psychology. 251: 54-67.
Zins, J.E., Bloodworth, M.R. and Wiessberg, R.P. (2007). The Scientific Base Linking Social and
Emotional Learning to School Success. Journal of Educational and Psychological Consultation. 17(2-3): 191-210.