Language structures, contents, and values of district slogans in the Northeastern region
โครงสร้างภาษา เนื้อหา และค่านิยมของคำขวัญประจำอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Keywords:
โครงสร้างภาษา, เนื้อหา, ค่านิยม, คำขวัญประจำอำเภอ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, Language Structure, Content, Values, District Slogans, Northeastern RegionAbstract
The purpose of this article was to study the language structure, content, and values of the district slogans in the northeastern region. The data was collected from the Wikipedia, free encyclopedia website, from 20 provinces, 322 districts, and 317 slogans. The results of the study on language structure were found. Most phrase + sentence structure. It was followed by phrase-level structure and no sentence-level structure. Based on the study of content. The common location-related content was found the most. It was followed by product content, religious content, local people content, tradition and culture content, festival and tradition content, geography content, history and background content, and the least found was content on current events and discoveries, respectively. Values , namely values promoting religion, art, and national culture, sports, local wisdom, Thai wisdom, and universal knowledge, which were found the most. It was followed by values of respect for nature and the environment, values of respect for one's ancestors and one's own locality, values of upholding an agricultural lifestyle, and the least were psychological values by developing the mind to be moral, ethical, and cultural in life, respectively.
References
กมลา จันทร์ทองคำ. (2551). การศึกษาพัฒนาการคำขวัญประจำอำเภอในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
จงกลรัตน์ เขียวจันทร์แสง. (2550). การวิเคราะห์คำขวัญประจำตำบลในจังหวัดอุตรดิตถ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
ชัชวลี ศรีลัมพ์. (2543). ลักษณะการใช้ภาษาในคำขวัญประจำจังหวัด” ภาษาและภาษาศาสตร์. 18(2), 5-15.
บุญยงค์ เกศเทศ. (2535). ศาสตร์และศิลป์แห่งภาษา. กาฬสินธุ์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
.(2548). สุภาษิตและคำพังเพย. กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์.
ปุณยนุช เปลี่ยนสี. (2551). การใช้คำศัพท์ที่ปรากฏในคำขวัญของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
พรทิพย์ ความจันทึก. (2548). นามสกุลประชาชนจังหวัดนครราชสีมา : การวิเคราะห์ทางอรรถศาสตร์ ชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พัชรินทร์ เวชชวงศ์. (2535). ภาษาเพื่อการสื่อสาร. เชียงใหม่: ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ สหวิทยาลัยล้านนา.
ไพฑูรย์ เครือแก้ว. (2506). ลักษณะสังคมไทยและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: การพิมพ์เกื้อกูล.
ภาวินี จันทร์ทองคำ. (2553). วิเคราะห์คำขวัญประจำอำเภอ จังหวัดในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน.
วยุรี วงศ์สมศรี. (2542). วิเคราะห์ลักษณะคำขวัญจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
วัฒนะ บุญจับ. (2541). ศาสตร์แห่งการใช้ภาษา. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2563, มกราคม 28). จังหวัดในภาคอีสาน. สืบค้นจาก :https://th.wikipedia.org/wikiสถาบันภาษาไทย. (2552). บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3 : ชนิดของคำ วลี ประโยค และสัมพันธสาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สุดา กุศลศารทูล. (2541). วิเคราะห์เนื้อหาของคำขวัญประจำจังหวัด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 JOURNAL OF LANGUAGE, RELIGION AND CULTURE
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.