การส่งบทความ
รายการตรวจสอบก่อนส่งบทความ
ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด- The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
- The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, RTF, or WordPerfect document file format.
- Where available, URLs for the references have been provided.
- The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
- The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines, which is found in About the Journal.
- If submitting to a peer-reviewed section of the journal, the instructions in Ensuring a Blind Review have been followed.
คำแนะนำผู้แต่ง
รูปแบบการเขียนบทความ
- รูปแบบการเขียนบทความวิจัยวารสารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ปรับใหม่)
- รูปแบบการเขียนบทความวิชาการวารสารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ปรับใหม่)
รูปแบบการอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหาตามหลักเกณฑ์ APA และการเขียนเอกสารอ้างอิงท้ายเล่ม
1. หนังสือปฐมภูมิ
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา (พระไตรปิฎก)
หลังข้อความ ตัวอย่าง - (ที.ปา. 20/395/106) (ชื่อคัมภีร์/เล่ม/ข้อ/หน้า)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./(ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี) ใส่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สถานที่พิมพ์:/
///////สำนักพิมพ์.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมกุฏราช
///////วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
2. หนังสือทั่วไป
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
ผู้แต่ง 1 คน ผู้แต่งชาวไทยให้ระบุชื่อและนามสกุล โดยไม่ต้องมีคำนำหน้านาม และผู้แต่งชาวต่างประเทศ ให้ขึ้นต้นด้วยนามสกุล
หน้าข้อความ ชื่อ/นามสกุล/(ปีที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อ้างอิง (ถ้ามี))
หลังข้อความ (ชื่อ/นามสกุล,/ปีที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อ้างอิง (ถ้ามี))
หน้าข้อความ ตัวอย่าง – พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (2540, หน้า 20)
- ประภาส แก้วเกตุพงษ์ (2560, หน้า 5-7)
- Martin Seeger (2015)
หลังข้อความ ตัวอย่าง - (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), 2540, หน้า 20)
- (ประภาส แก้วเกตุพงษ์, 2516, หน้า 1-4)
- (Martin Seeger, 2015)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./(ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี) ใส่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สถานที่พิมพ์:/
///////สำนักพิมพ์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). พุจนานุกรมฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 4).
///////กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์.
ผู้แต่ง 2 คน ให้ระบุชื่อและนามสกุลของผู้แต่งทั้ง 2 คน โดยใช้คำว่า “และ” สำหรับผู้แต่งชาวไทย หรือ “&” หรือ “and” สำหรับผู้แต่งชาวต่างประเทศ ระหว่างคำให้เว้นระยะห่างด้านหน้าและด้านหลัง 1 เคาะ
หน้าข้อความ ชื่อ/นามสกุล/(ปีที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อ้างอิง (ถ้ามี))
หลังข้อความ (ชื่อ/นามสกุล,/ปีที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อ้างอิง (ถ้ามี))
หน้าข้อความ ตัวอย่าง – สมภาร พรมทา และสมหวัง แก้วสุฟอง (2538)
- William & Martin (1990)
หลังข้อความ ตัวอย่าง - (สมภาร พรมทา และสมหวัง แก้วสุฟอง, 2538)
- (William & Martin, 1990)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./(ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี) ใส่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สถานที่พิมพ์:/
สำนักพิมพ์.
สมภาร พรมทา และสมหวัง แก้วสุฟอง. (2538). ภาษาและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา.
///////กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
William & Martin (1990). Rural Development Participation: Concept and Measure for
///////Project Design Implementation and Evaluation: Rural Development Committee
///////Center for international Studies. New York: Cornell University Press.
ผู้แต่ง 3 คน ให้ระบุชื่อและนามสกุลของผู้แต่งครบทุกคน และให้คั่นด้วยเครื่องหมาย “,” จนถึงผู้แต่งคนสุดท้ายให้คั่นด้วย “และ” สำหรับผู้แต่งชาวไทย หรือ “&” หรือ “and” สำหรับผู้แต่งชาวต่างประเทศ ระหว่างคำให้เว้นระยะห่างด้านหลัง 1 เคาะ
หน้าข้อความ ชื่อ/นามสกุล/(ปีที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อ้างอิง (ถ้ามี))
หลังข้อความ (ชื่อ/นามสกุล,/ปีที่พิมพ์,/เลขหน้าที่อ้างอิง (ถ้ามี))
หน้าข้อความ ตัวอย่าง – วิเชียร แสนมี, หอมหวล บัวระภา และประภาส แก้วเกตุพงษ์ (2564)
หลังข้อความ ตัวอย่าง – (วิเชียร แสนมี, หอมหวล บัวระภา และประภาส แก้วเกตุพงษ์, 2564)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./(ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี) ใส่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์.
วิเชียร แสนมี, หอมหวล บัวระภา และประภาส แก้วเกตุพงษ์. (2564). ศาสนากับสังคมและวัฒนธรรม.
///////กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์.
ผู้แต่ง 3 คนขึ้นไป ให้ระบุชื่อและนามสกุลของผู้แต่งคนแรกและตามด้วย “และคณะ” สำหรับผู้แต่งชาวไทย หรือ “et al.” สำหรับผู้แต่งชาวต่างประเทศ ระหว่างคำให้เว้นระยะห่างด้านหลัง 1 เคาะ
หน้าข้อความ ชื่อ/สกุล/และคณะ (ปีที่พิมพ์,/เลขหน้า (ถ้ามี))
หลังข้อความ (ชื่อ/สกุล1,/ชื่อ/สกุล2,/ชื่อ/สกุล3,/และชื่อ/สกุล4,/ปีที่พิมพ์,/เลขหน้า (ถ้ามี))
หน้าข้อความ ตัวอย่าง – ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ (2563)
หลังข้อความ ตัวอย่าง – (ประภาส แก้วเกตุพงษ์, วิเชียร แสนมี, กรรณิกา คำดี และหอมหวล บัวระภา, 2563)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./(ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี) ใส่พิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป)./สถานที่พิมพ์:/
///////สำนักพิมพ์.
ประภาส แก้วเกตุพงษ์ และคณะ. (2560). พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทยในยุคปัจจุบัน.
///////กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง จงเจริญ.
3. วิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
หลังข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ์./(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตหรือวิทยานิพนธ์ดุษฎี
///////บัณฑิต)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์หรือชื่อมหาวิทยาลัย.
ณัฐหทัย มานาดี, หอมหวล บัวระภา และกรรณิกา คำดี. (2565). การส่งเสริมและอนุรักษ์แหล่ง
///////ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของจังหวัดขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต).
///////ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. รายงานการวิจัย
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
หลังข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./(รายงานการวิจัย)./สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์.
ประภาส แก้วเกตุพงษ์, หอมหวล บัวระภา และวิเชียร แสนมี. (2563). รูปแบบการส่งเสริมอนุรักษ์
///////แหล่งท่องเที่ยงเชิงพุทธศิลป์ของอุโบสถในจังหวัดร้อยเอ็ด. (รายงานการวิจัย). ขอนแก่น:
///////มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
5. การประชุมวิชาการ
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
หลังข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผูhแต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อการประชุมหรือการสัมมนา,/วัน เดือน ปี,/(เลขหน้า-เลขหน้า).
///////สถานที่พิมพ์:/ชื่อสํานักพิมพ์.
กันตพงศ์ จิตต์กล้า. (2566). แนวทางการเตรียมการเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาวิชา
///////ฝรั่งเศสตามเกณฑ์ AUN QA. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานการวิจัยระดับชาติ ครั้งที่
///////2 GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2023, 30 พฤศจิกายน 2566, (หน้า 37-44).
///////ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
6. ราชกิจจานุเบกษา
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ ชื่อพระราชบัญญัติ/(ปีที่พิมพ์)
หลังข้อความ (ชื่อพระราชบัญญัติ,/ปีที่พิมพ์)
หน้าข้อความ ตัวอย่าง - พระราชบัญญัติโบราณสถานโบราณวัตถุศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (2544)
หลังข้อความ ตัวอย่าง - (พระราชบัญญัติโบราณสถานโบราณวัตถุศิลปวัตถุและพิพิธ ภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504, 2544)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อพระราชบัญญัติ./(ปีที่พิมพ์,/วันที่/เดือน)./ราชกิจจานุเบกษา./เล่ม/ตอน,/หน้า.
พระราชบัญญัติโบราณสถานโบราณวัตถุศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504. (2544,
///////21 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 118 ตอนพิเศษ 127ง, หน้า 13-17.
7. บทความจากวารสาร
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
หลังข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่(ฉบับที่),/เลขหน้า.
หอมหวล บัวระภา และกรรณิกา คำดี. (2560). รูปแบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของผู้บริหาร
///////เทศบาลเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนใต้. วารสารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม, 16(1),
///////1-13.
Martin Seeger, Acharawan Seeger & Johnson. R.S. (2023). Buddhism in Myanmar.
///////Journal of Humanities and Social Sciences, 10(2), 174-186.
8. สื่ออิเล็กทรอนิกส์/เว็บไซต์/วิกิพีเดีย
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
หลังข้อความ รูปแบบการเขียนอ้างอิงในเนื้อหา ใช้รูปแบบเดียวกับหนังสือทั่วไป
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./เข้าถึงได้จาก/http:///www.xxxxxxx
(คำว่า เข้าถึงได้จาก ใช้สำหรับเอกสารภาษาไทย Retrieved from สำหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ)
หอมหวล บัวระภา. (2566). ศิลปกรรมในงานพุทธศิลป์หลวงพ่อพระใสจังหวัดของคาย. เข้าถึงได้จาก
///////http://www.slideshare.net/amicsangkakorn/ss-48803224
Johnson, K., Richart, N. and Judee, W. (2020). Positive Effect of Probiotic Lactobacillus
///////Plantarum in Reversing the LPS Induced Infertility in Mouse Model. Retrieved
///////from http://www.jmm.microbiologyresearch.org/content/journal/j
///////mm/10.1099/jmm.0.000230;jsessionid=1me6a81o04g7o.x-sgm-live-03
วิกิพีเดีย:
ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./วันที่สืบค้น,/จาก/http:///www.xxxxxxx
วิกิพีเดีย. (2561). ข่าวสารกรมศิลปากร พ.ศ.2560. วันที่สืบค้น 3 มิถุนายน 2562, จาก
///////https://th.wikipedia.org/wiki
9. สัมภาษณ์
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ ชื่อ/นามสกุล/(สัมภาษณ์,/วันที่/เดือน/พ.ศ.)
หลังข้อความ (ชื่อ/นามสกุล,/สัมภาษณ์,/วันที่/เดือน/พ.ศ.)
หน้าข้อความ ตัวอย่าง- กรรณิกา คำดี (สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2562)
หลังข้อความ ตัวอย่าง- (กรรณิกา คำดี, สัมภาษณ์, 20 กันยายน 2562)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
การสัมภาษณ์ให้ทำการอ้างอิงในเนื้อหาโดยไม่ต้องลงรายการในเอกสารอ้างอิง
10. การอ้างอิงเอกสารทุติยภูมิ (อ้างถึงใน)
ลักษณะการอ้างอิงในเนื้อหา
หน้าข้อความ ชื่อ/นามสกุล,/(พ.ศ. อ้างถึงใน/ชื่อ/สกุล,/พ.ศ.)
หลังข้อความ (ชื่อ/นามสกุล,/สัมภาษณ์,/วันที่/เดือน/พ.ศ.)
หน้าข้อความ ตัวอย่าง – วิเชียร แสนมี, (2552 อ้างถึงใน เทพพร มังธานี, 2560)
- Martin Seeger (2010 as cited in Johnson, 2015)
หลังข้อความ ตัวอย่าง - (วิเชียร แสนมี, 2552 อ้างถึงใน เทพพร มังธานี, 2560, หน้า 1-2)
- (Martin Seeger 2010 as cited in Johnson, 2015)
การเขียนเอกสารอ้างอิง (ท้ายเล่ม)
เทพพร มังธานี. (2560). การอนุรักษ์วัฒนธรรมการใช้ภาษาถิ่นของชุมชนบ้านสงเปือย จังหวัด
///////กาฬสินธุ์. ชลบุรี: วิทยาลัยบูรพา.
Johnson, T. D. (2015). Moral of human (4th ed.). United Kingdom: Oxford University.
นโยบายส่วนบุคคล
The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.