การศึกษาสภาพและปัญหาของการจัดการศึกษาในสายอาชีพสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้

ผู้แต่ง

  • ชนิศา ตันติเฉลิม กลุ่มวิจัยการจัดความช่วยเหลือทางวิชาการและพฤติกรรมสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สิริฉันท์ สถิรกุล เตชพาหพงษ์ ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วิรุจ กิจนันทวิวัฒน์ ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • บุณฑริกา บูลภักดิ์ ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วาทินี อมรไพศาลเลิศ กลุ่มวิจัยการจัดความช่วยเหลือทางวิชาการและพฤติกรรมสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ดุสิดา ทินมาลา กลุ่มวิจัยการจัดความช่วยเหลือทางวิชาการและพฤติกรรมสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ความต้องการพิเศษ, การจัดการศึกษาในสายอาชีพ, ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาของการจัดการศึกษาในสายอาชีพสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้ และความต้องการด้านการศึกษาในสายอาชีพของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษฯและครอบครัว วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ 1) การจัดสนทนากลุ่ม 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารวิทยาลัยสารพัดช่าง อาจารย์วิทยาลัยสารพัดช่าง และ ผู้ปกครอง เก็บข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 3 ฉบับแบ่งตามกลุ่มตัวอย่างวิจัย และ 2) จัดฝึกประสบการณ์ทดลองเรียนหลักสูตรฝึกอาชีพระยะสั้น ตัวอย่างวิจัย ได้แก่ ครู ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษฯและผู้ปกครอง เก็บข้อมูลด้วยแบบสังเกตพฤติกรรมการสอนและแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรฝึกอาชีพระยะสั้นมีความยืดหยุ่นและหลากหลาย แต่มุ่งสอนทักษะอาชีพเพียงบางทักษะ ครูส่วนใหญ่มีความเชี่ยวชาญในทักษะสายอาชีพแต่ยังคงต้องการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษฯ และส่งเสริมให้มีทัศนคติเชิงบวกต่อผู้เรียน แต่ละวิทยาลัยมีนโยบายรับคนพิการเข้าศึกษา แต่ยังไม่มีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล และยังขาดการทำงานบูรณาการเชิงรุกระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้พบว่า ผู้เรียนและครอบครัวต้องการโอกาสเรียนร่วมกับบุคคลทั่วไป แต่กังวลเกี่ยวกับการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ผู้เรียนต้องการเรียนหลักสูตรที่นำไปใช้ประกอบอาชีพได้ แต่ยังคงต้องการแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

Downloads

References

Alberto, P. A., & Troutman, A. C. (2013). Applied behavior analysis for teachers. (9th ed.). New Jersy, NJ: Pearson.

Apornratana, I. (2011). A study on problems and needs of people with mental retardation on vocation training (Master’s Thesis). Bangkok: Srinakharinwirot University.

Arthur-Kelly, M., Lyons, G., & Butterfield, (2006). Classroom management: Creating positive learning environments (3rd. ed). South Melbourne: Thomson.

Autism parent assembly. (2013, September). Operating the strategic of life quality development for disabled people. In administrator of department of empowerment of persons with disabilities (chair), Workshop on issue operating the strategic of life quality development for disabled people to act, Bangkok.

Glover, S. (2019). College and career transition: A bridge to postsecondary success for high school special needs students (Doctoral dissertation, California State University, Long Beach).

Harvey, M. W., Cotton, S. E., & Koch, K. R. (2007). Indiana Secondary CTE Instructors' perceptions of program expectations, modifications, accommodations, and postsecondary outcomes for students with disabilities. Journal for Vocational Special Needs Education, 29(2), 16-32.

Harvey, M. W., & Pellock, C. (2003). Influences of student educational labels, behaviors and learning characteristics as perceived by Pennsylvania secondary career and technical educators: A case study approach. The journal for Vocational Special Needs Education, 25, 30-41.

Hendricks, D. (2010). Employment and adults with autism spectrum disorders: Challenges and strategies for success. Journal of Vocational Rehabilitation, 32(2), 125-134.

Indu, M. A., & Barki, B. G. (2012). A Study to integrate the differently abled through Technical and Vocation Education in the Polytechnic Colleges in Souther! Region of India. Asian Journal of Research in Social Sciences and Humanities, 2(5), 304-311.

Kongthaworn, J. (2004). The possibility of hiring persons with disabilities in Mitsubishi Motor Thailand. Bangkok: Thammasat University.

Lee, G. K., & Carter, E. W. (2012). Preparing transition age students with high functioning autism spectrum disorders for meaningful work. Psychology in the Schools, 49(10), 988-1000.

Lombardi, A. R., Dougherty, S. M., & Monahan, J. (2018). Students with intellectual disabilities and career and technical education opportunities: A systematic literature review. Journal of Disability Policy Studies, 29(2), 82-96.

Malle, A. Y., Pirttimaa, R., & Saloviita, T. (2015). Inclusion of students with disabilities in formal vocational education programs in Ethiopia. International journal of special education, 30(2).

Miesera, S., & Gebhardt, M. (2018). Inclusive vocational schools in Canada and Germany. A comparison of vocational pre-service teachers’ attitudes, self-efficacy and experiences towards inclusive education. European Journal of Special Needs Education, 33(5), 707-722.

Müller, E., Schuler, A., Burton, B. A., & Yates, G. B. (2003). Meeting the vocational support needs of individuals with Asperger Syndrome and other autism spectrum disabilities. Journal of Vocational Rehabilitation, 18(3), 163-175.

Nation statistics. (2018). The survey result of person with disabilities. Bangkok: Nation statistics.

Sawangsri, S. (2007). Vocation promotion for mentally retarded persons of Lopburipanyanukul school. Journal of Ratchasuda College for research and development of persons with disabilities, 3(1), 46-58.

UNESCO. (2001). Open file on Inclusive Education: Support materials for managers and administrators. UNESCO; Paris.

United Nations. (2006). Convention on the Right of Persons with Disabillities (CRPD.available: http://un.org/development/desa/disabillities/convention-on-the-right-of-persons-with- disabillities.html. Retreived 8 June 2015.

Wehman, P., Chan, F., Ditchman, N., & Kang, H. J. (2014). Effect of supported employment on vocational rehabilitation outcomes of transition-age youth with intellectual and developmental disabilities: A case control study. Intellectual and developmental disabilities, 52(4), 296-310.

Yusof, A. M., Ali, M. M., & Salleh, A. M. (2015). Youth workers with disabilities: The views of employers in Malaysia. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 204, 105-113.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-23

How to Cite

ตันติเฉลิม ช. ., สถิรกุล เตชพาหพงษ์ ส. ., กิจนันทวิวัฒน์ ว. ., บูลภักดิ์ บ. ., อมรไพศาลเลิศ ว. ., & ทินมาลา ด. (2020). การศึกษาสภาพและปัญหาของการจัดการศึกษาในสายอาชีพสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการเรียนรู้. วารสารสถาบันราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ, 16(1), 33–45. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/RSjournal/article/view/244221