บทบาทแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับการพัฒนาการดูแลแบบประคับประคองของประเทศไทย : ทบทวนวรรณกรรมร่วมกับกรณีศึกษา โรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก บทบาทแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับการพัฒนาการดููแลแบบประคับประคอง

Main Article Content

โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ
https://orcid.org/ 0000-0002-7101-2071

บทคัดย่อ

ที่มา: การดูแลแบบประคับประคองของประเทศไทยมีพัฒนาการมากว่าสองทศวรรษ กลยุทธ์สำคัญที่ทำให้การยกระดับการจัดระบบบริการดูแลแบบประคับประคองของประเทศไทยมีความครอบคลุมและอยู่ในระบบบริการสุขภาพของประเทศในระดับที่สมบูรณ์ได้นั้น คือการผสมผสานการดูแลประคับประคองในระบบบริการปฐมภูมิประเทศไทย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวคือกุญแจสำคัญในการผสมผสานการพัฒนาระบบบริการการดูแลประคับประคองทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน เพิ่มการเข้าถึงบริการการดูแลประคับประคองที่มีคุณภาพได้เร็วตั้งแต่เริ่มต้น บทความนี้นำเสนอการจัดบริการการดูแลประคับประคองโดยแพทย์เวช-ศาสตร์ครอบครัวในภาพรวมประเทศไทย ร่วมกับกรณีศึกษาโรงพยาบาลแม่สอด อ.แม่สอด จ.ตาก


คำสำคัญ: การพัฒนา การดูแลแบบประคับประคอง ประเทศไทย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว การดูแลปฐมภูมิ


 


Palliative care in Thailand has been developing for two decades. To enhance the full coverage of palliative care service provision at the advanced stage of integration, the integration of palliative care into primary care is one of the most important strategies. Family physicians are key in implementing integrated palliative care in hospital and community settings to ensure early access to good quality palliative care. This article illustrates the provision of palliative care services by family physicians in the whole country, of Thailand, and presents a case study in Maesot, Tak, Thailand.


Keywords: development, palliative care, Thailand, family physician, primary care

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความปริทัศน์

References

Lynch T, Connor S, Clark D. Mapping levels of palliative care development: a global update. J Pain Symptom Manage. 2013;45:1094-106.

Clark D, Baur N, Clelland D, Garralda E, López-Fidalgo J, Connor S, et al. Mapping levels of palliative care development in 198 countries: the situation in 2017. J Pain Symptom Manage. 2020;59:794-807.e4.

The Economist Intelligence Unit. The 2015 Quality of Death Index Ranking palliative care across the world [Internet]. 2015 [cited 2019 Dec 26]. Available from: https://eiuperspectives.economist.com/healthcare/2015-quality-death-index

Pairojkul S. Network of Primary Palliative Care in Thailand: a prototype driven by education. In: Silbermann M, editor. Palliative care for chronic cancer patients in the community global approaches and future applications. Cham: Springer International Publishing; 2021. p. 521-31.

มูลนิธิเครือข่ายพุทธิกา. เผชิญความตายอย่างสงบ [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 26 ส.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://budnet.org/project/peaceful-death/

ชีวามิตร. เกี่ยวกับเรา [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 5 ต.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://cheevamitr.com/about

Kanjanopas T. Peaceful Death. 2023 [cited 2023 Oct 5]. Development of Palliative Care in Thailand.

Available from: https://en.peacefuldeath.co/development-of-palliative-care-in-thailandthagoon-kanjanopas-department-of-internal-medicine-hatyai-hospital-songkhla-province-thailand/

ประเวศ วะสี. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. จัดการความรู้ สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม “พลังความรู้ สู่การเขยื้อนภูเขา.” 2566 [เข้าถึงเมื่อ 5 ต.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hsri.or.th/researcher/media/issue/detail/4645

สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายแห่งประเทศไทย. ความเป็นมาของสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายแห่งประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 1 ก.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaps.or.th/story/

Suvarnabhumi K, Sowanna N, Jiraniramai S, Jaturapatporn D, Kanitsap N, Soorapanth C, et al. Situational Analysis of Palliative Care Education in Thai Medical Schools. Palliative Care. 2013;7:25-9.

Karunruk Palliative Care Center. Karunruk Palliative Care Center [Internet]. 2019 [cited 2020 Feb 29]. Available from: http://karunruk.org/home/

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2555.

พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12 พ.ศ. 2550. ราชกิจจานเบกษา เล่ม 124, ตอนที่ 16ก, หน้า 1. (19 มี.ค. 2550)

สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ. นิยามปฏิบัติการ (Operational definition) ของคำที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2563.

ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง มาตรฐานการวางแผนดูแลล่วงหน้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2565 (Thai standards for advance care planning).

Thongkhamcharoen R, Phungrassami T, Atthakul N. Regulation of opioid drugs in Thai government hospitals: Thailand national survey 2012. Indian J Palliat Care. 2014;20:6-11.

Resolution WHA 67.19. Strengthening of palliative care as a component of integrated treatment throughout the life course. Vol. 2014. 2014.

อากาศ พัฒนเรืองไล, บรรณาธิการ. List disease of Palliative care and Functional unit. นนทบุรี: สำนักวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์; 2559.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงควารู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2561.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. มาตรฐานคุณวุฒิความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (มคว.1) สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2562.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. มาตรฐานคุณวุฒิความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (มคว.1) สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ.2565 [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 26 มี.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://drive.google.com/file/d/1t7N-LeU0Bu75Kd5YYvufYTJPKO1uPdvt/view

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรม เพื่อประกาศนียบัตรวิชาชีพเวชกรรมด้านเวชศาสตร์ครอบครัวการบริบาลแบบประคับประคอง พ.ศ. 2561.

ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย. หลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรม เพื่อประกาศนียบัตรวิชาชีพเวชกรรมด้านเวชศาสตร์ครอบครัวการบริบาลแบบประคับประคอง พ.ศ. 2566.

โรจนศักดิ์, ทองคำเจริญ. บทบาทแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย: กรณีศึกษาจากโครงการกัลยาณมิตร อ. แม่สอด. ใน: สายพิณ, หัตถีรัตน์, บรรณาธิการ. เวชศาสตร์ครอบครัว: แนวคิดและประสบการณ์ในบริบทไทย. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง; 2553. หน้า. 277-92.

โรจนศักดิ์, ทองคำเจริญ. Maesot Palliative care interdisciplinary team based practice. ใน: กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข, บรรณาธิการ. เอกสารประกอบการประชุม the 3rd Thailand elderly health service forum 2018 “ Aging health for aged society 2020” 13-15 มิถุนายน ณ โรงแรมเซนทรา แจ้งวัฒนะ. กรุงเทพ; 2561.

ภมรรัตน์ ศรีธาราธิคุณ. เทคโนโลยีสื่อสารออนไลน์ และการดูแลแบบประคับประคองในพื้นที่ห่างไกล. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2019;2:25-33.

ภมรรัตน์ ศรีธาราธิคุณ, ศิริจิต เนติภูมิกุล. ผลของการวางแผนการดูแลล่วงหน้าต่อการดูแลในวาระสุดท้ายของชีวิต ในคลินิกการดูแลประคับประคอง รพ. แม่สอด จ. ตาก. วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2021;4:97-111.

Pairojkul S, Thongkhamcharoen R, Raksasataya A, Sorasit C, Nakawiro P, Sudsa S, et al. Integration of Specialist Palliative Care into Tertiary Hospitals: A Multicenter Point Prevalence Survey from Thailand. Palliative Medicine Reports. 2021;2:272-9.

นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์, อรวรรณ กีรติสิโรจน์, ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, กีรติ กิจธีระวุฒิวงษ์, โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. โครงการย่อยที่ 3 การวิเคราะห์สถานการณ์และการพัฒนาบริการการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในชุมชนโดยใช้แนวคิดการสาธารณสุขมูลฐาน. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 3 ก.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://thaitgri.org/?p=40122

Kitreerawutiwong N, Kitreerawutiwong K, Keeratisiroj O, Mekrungrengwong S, Thongkhamcharoen R. Methods used to identify the prevalence of palliative care needs: An integrative review. Palliative & supportive care. 2023;1-16.

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. บริการผู้ป่วยประคับประคอง (Palliative Care) หน่วยบริการ: 10723-รพ.แม่สอด จ.ตาก [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 21 พ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://mishos.nhso.go.th/mis_hos/#/Central/palliativecare

โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ. รัก palliative-GotoKnow [อินเทอร์เน็ต]. 2548 [เข้าถึงเมื่อ 10 ก.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.gotoknow.org/blog/palliativelover

Thongkhamcharoen R, Phungrassami T, Atthakul N. Palliative care and essential drug availability: Thailand National Survey 2012. Journal of Palliative Medicine. 2013;16:546-50.

Phungrassami T, Thongkhamcharoen R, Atthakul N. Palliative care personnel and services: a national survey in Thailand 2012. J Palliat Care. 2013;29:133-9.

โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ. Hospis Malaysia. จดหมายข่าวอาทิตย์อัสดง. 2554;3:6-14.

Thongkhamcharoen R, Agar M, Breaden K, Hamzah E. Dyspnea management in Palliative home care: A case series in Malaysia. Indian J Palliat Care. 2012; 18:128-33.

โรจนศักดิ์ ทองคำเจริญ เอกภพ สิทธิวรรณธนะ. การสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนและทีมสุขภาพในงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย: บทเรียนจากเกรละถึงแม่สอด. ใน: เอกภพ สิทธิวรรณธนะ, ปองกมล สุรัตน์, ฐนิดา อภิชนะกุลชัย อต, editor. ชุมชนกรุณา นิมิตใหม่ของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สสส. และ กลุ่ม Peaceful Death; 2562. หน้า 19-24.

Institute of Palliative Medicine [Internet]. 2023 [cited 2023 Nov 13]. Available from: https://www.instituteofpalliativemedicine.org/about.php

Pairojkul S, Thongkhamcharoen R, Raksasataya A, Sorasit C, Nakawiro P, Sudsa S, et al. Integration of Specialist Palliative Care into Tertiary Hospitals: A multicenter point prevalence survey from Thailand. Palliative Medicine Reports. 2021;2:272-9.

Health Data Center ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. 2565. ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขา Intermediate & Palliative Care. Available from: https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_id=b08560518ca0ebcaf2016dab69fb38b5

สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. สปสช.หนุน “ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย” จัดสิทธิประโยชน์ ดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพ. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 30 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/WNSOC6011200010040

Ramakrishnan JK. Situation Assessment of Palliative Care in South East Asia Region. In: Regional workshop to improve palliative care in the context of COVID-19 pandemic in the SEA Region 8-9 April 2021.