การวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชนเป็นฐาน:ในฐานะเครื่องมือและปัจจัยแห่งความสำเร็จของการร่วมสร้าง ระบบสุขภาพชุมชนที่เกาะยาว

Main Article Content

มารุต เหล็กเพชร

บทคัดย่อ

ที่มาและวัตถุประสงค์ Community Based Participatory Research -CBPR มีที่มาจากการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม หรือ Participatory Action Research ซึ่งเป็นการวิจัยที่ผสมผสานการวิจัยแบบมีส่วนร่วมกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการ รวมทั้งวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน ในประเทศไทยยังมีองค์ความรู้ในการใช้เครื่องมือนี้จากระบบบริการปฐมภูมิไม่มากนัก การศึกษานี้จึงต้องการศึกษาถึงปัจจัยของความสำเร็จของการสร้างระบบสุขภาพชุมชนโดยใช้เครื่องมือการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชนเป็นฐาน
แบบวิจัย : ใช้การศึกษาแบบกรณีศึกษา โดยนำโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมที่มีชุมชนเป็นฐานที่ผู้วิจัยได้มีส่วนร่วมตั้งแต่ปี 2007-2023 มาใช้เป็นกรณีศึกษา วัสดุและวิธีการ : เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การสนทนากลุ่ม การสังเกตโดยตรง วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา และตรวจสอบกับตัวแบบเชิงตรรกะและสร้างคำอธิบายปัจจัยแห่งความสำเร็จโดยใช้ realist evaluation ผลการวิจัย: การศึกษาพบว่าองค์ประกอบโครงสร้างของ CBPR ทั้ง 3 กรณี สอดคล้องกับตัวแบบเชิงตรรกะของ Wallerstein ที่ได้ปรับปรุงในปี 2018 และยังมีองค์ประกอบที่สำคัญที่พบเพิ่มเติม ได้นำไปปรับปรุงตัวแบบให้เหมาะสมตามที่ค้นพบเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการการใช้งานสำหรับบริการปฐมภูมิต่อไป และพบว่าปัจจัยของความสำเร็จของ CBPR คือ 1) เป็นโครงการที่มีการระบุปัจจัยปัจจัยเชิงสังคมที่กำหนดสุขภาพ 2)การใช้ภูมิปัญญาและทรัพยากรในชุมชน 3) ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในขั้นควบคุมโดยประชาชน (Citizen control)

Article Details

How to Cite
1.
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

สายรัตน์ นกน้อย.ทิศทางการพัฒนาเวชศาสตร์ครอบครัวและการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ ตอนที่ 1 : เข้าใจที่มา

ผ่านประวัติศาสตร์,วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว. 2565;5(3):146-162.

. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. เส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15

สิงหาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nhso.go.th/page/history.

. สุพัตรา ศรีวณิชชากร, การปฏิรูปบริการปฐมภูมิ ปรับกรอบ ขยับฐานความคิด สู่บริการสุขภาพปฐมภูมิในทศวรรษใหม่ (เอกสารเรียบเรียงสรุปจากรายงานขององค์กรอนามัยโลก Primary Care Now More Than Ever, World Health Report 2008). 2551.

. ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยระบบสุขภาพชุมชน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2557.

. Israel BA, Schulz AJ, Parker EA, Becker AB. Review of community-based research: assessing partnership

approaches to improve public health. Annu Rev Public Health. 1998;19:173-202

Wallerstein N, Duran B. Community-based participatory research contributions to intervention research:

the intersection of science and practice to improve health equity. Am J Public Health. 2010;100

Suppl 1:S40–6.

. Community Based Participatory Research for Health. M. Minkler and N. Wallerstein. San Francisco,

Jossey Bass. P 27-52.

Naruemon A. The Continuum from Action Research to Community Based Participation Research.

J Public Health 2010; 40(1): 86-100.

. Trickett EJ, Beehler S. The ecology of multilevel interventions to reduce social inequalities in health. Am Behav Sci. 2013; 5:1227–46.

. Dankwa-Mullan I, Rhee KB, Williams K, Sanchez I, Sy FS, Stinson N, et al. The science of eliminating health disparities: Summary and analysis of the NIH summit recommendations. Am J Public Health. 2010 Suppl 1:S12–8.

. Bryan V, Brye W, Hudson K, Dubose L, Hansberry S, Arrieta M. Investigating health disparities through community-based participatory research: lessons learned from a process evaluation. Soc Work Public Health. 2014;29:318-34.

. Wallerstein N, Oetzel J, Duran B, Tafoya G, Belone L, Rae R. CBPR: What predicts outcomes? In: Minkler M, Wallerstein N, editors. Community-based participatory research for health. 2nd. San Francisco, CA: Jossey Bass; 2008. p. 371–92.

Eder MM, Carter-Edwards L, Hurd TC, Rumala BB, Wallerstein N. A logic model for community engagement within the Clinical and Translational Science Awards consortium: can we measure what we model?. Acad Med. 2013;88(10):1430-6.

Duran B, Oetzel J, Magarati M, Parker M, Zhou C, Roubideaux Y,et al. (2019). Toward health equity: A national study of promising practices in community-based participatory research. Progress in Community Health Partnerships: Research, Education, and Action. 2019;13(4):337–352.

. Belone L, Lucero JE, Duran B, Tafoya G, Baker EA, Chan Wallerstein N. et al. Community-Based Participatory Research Conceptual Model: Community Partner Consultation and Face Validity. Qual Health Res. 2016; 26:117–35.

. Wallerstein N, Oetzel JG., Sanchez-Youngman S,Boursaw B,Dickson E,Kastelic S, et al. Engage for Equity: A Long-Term Study of Community-Based Participatory Research and Community-Engaged

Research Practices and Outcomes. Health Educ Behav. 2020;47(3):380–90.

. ยาใจ พงษ์บริบูรณ์. การศึกษาแบบกรณีศึกษา : Case Study วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2553;33:4

. Pawson R, Tilley N. Realist evaluation: Sage; 1997.

. ศิรินาถ ตงศิริ, ศุภวิตา แสนศักดิ์, ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง,วรพจน์ พรหมสัตยพรต,สุมัทนา กลางคาร. ทฤษฎีและกรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อนำนโยบายสาธารณสุขไปสู่การปฏิบัติ:การวิจัยอย่างเป็นระบบเพื่อค้นหากลยุทธ์การปฏิบัติตามนโยบายที่มีประสิทธิภาพ.วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข.2561;12:7-26

. Marchal B,Van Belle S,Van Olmen J,Hoeree T,Kegels G. Is realist evaluation keeping its promise? A review of published empirical studies in the field of health system research. Evaluation. 2012;18:192-212.

. Jagosh J, Bush PL, Salsberg J, et al. A realist evaluation of community-based participatory research: partnership synergy, trust building and related ripple effects. BMC Public Health. 2015;15:725.

. Arnstein SR.A Ladder Of Citizen Participation, Journal of the American Institute of Planners,

;35:4:216-224

DeVoe JE, Bazemore AW, Cottrell EK, et al. Perspectives in Primary Care: A Conceptual Framework and Path for Integrating Social Determinants of Health into Primary Care Practice.

Ann Fam Med. 2016;14(2):104–8

. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. สู่จินตนาการใหม่คืนหัวใจให้สุขภาพชุมชน. ใน ตกผลึกอุดมการณ์บริการปฐมภูมิ สู่ปฏิบัติการงานสุขภาพชุมชนสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน. 2550.หน้า 26-36.

Petiwala A,Lanford D,Landers G, et al. Community voice in cross-sector alignment: concepts and strategies from a scoping review of the health collaboration literature.BMC Public Health. 2021;21(712)

. Oetzel JG,Wallerstein N,Duran BM,Sanchez-youngman S,Nguyen TT,Woo K,et al. Impact of Participatory Health Research: A Test of the Community-Based Participatory Research Conceptual Model. BioMed Res. Int. 2018;(2018).

. Lucero JE. Trust as an ethical construct in community based participatory research partnerships [doctoral dissertation]. Albuquerque: MN: University of New Mexico; 2013.

. สุพัตรา ศรีวณิชชากร,คุณภาพของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ และการบริหารจัดการระบบประเมินคุณภาพ

ในประเทศไทย,วารสารระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2566;6(2):122-132

. World Health Organization & United Nations Children’s Fund. (‎UNICEF)‎. Operational Framework for

Primary Health Care. [Internet]. 2020 [cited 2023 August 16]. Available from:

https://www.who.int/publications/i/item/9789240017832.

. World Health Organization and the United Nations Children’s Fund (UNICEF). Primary health

care measurement framework and indicators: monitoring health systems through a primary health care

lens. Geneva: WHO and UNICEF; 2022.